จังหวัด
อำเภอ
ตำบล
หมวด คีย์เวิร์ด
ข้อมูล 5 จังหวัดชายแดนใต้
จังหวัดสงขลา
จังหวัดปัตตานี
จังหวัดสตูล
จังหวัดยะลา
จังหวัดนราธิวาส
เส้นทางท่องเที่ยวอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-
ไทย (IMT-GT) (คลิกชมทั้งหมด)
เส้นทางท่องเที่ยวสัมผัสเมืองเก..
หาดใหญ่–เมดาน–ปาราปัท–เบอร์รัส..
ไทย(สงขลา) – มาเลเซีย(ปีนัง) –..
ทำบุญไหว้พระ 9 วัดในรัฐกลันตัน
ทัวร์มาเลเซีย เก็นติ้ง 3 วัน 2..
เที่ยวบาหลี สวยที่สุด 4 วัน 3 คืน
เที่ยวเมดาน อินโดนีเซีย 5 วัน ..
ทัวร์เมดาน จากหาดใหญ่ 4 วัน 3 คืน
เกาะสวรรค์ บาหลี อินโดนีเซีย 4..
ทัวร์ล่องเรือสตาร์ครูซ 2 วัน 1 คืน
เส้นทางท่องเที่ยว 5 จังหวัดชายแดนใต้
(คลิกชมทั้งหมด)
โปรแกรมที่ 1 วันเดียว....เที่ยวปัตตานี..
เส้นทาง สงขลา - ปัตตานี - สงขลา “2 วัน..
โปรแกรมที่ 4 วันเดียว...เที่ยวนรา..
โปรแกรมที่ 3 วันเดียว...เที่ยวนรา..
เส้นทาง หาดใหญ่-ด่านประกอบ- มาเลเซีย -..
เส้นทาง สงขลา – สตูล “สัมผัสมหัศจรรย์..
เส้นทางที่ 9 ซิงกอร่า – ลังกาสุกะ – รั..
เส้นทางที่ 7วังประจัน เมืองชายแดนการค้..
เส้นทางที่ 8 หาดใหญ่ – สงขลา – ปีนัง –..
เส้นทางที่ 10ผจญภัยในถ้ำน้ำ ชมความงาม ..
ค้นหาสถานที่ต่างๆ ตามหมวด
เส้นทางท่องเที่ยวโดยนักวิจัย
สถานที่ท่องเที่ยว
เส้นทางท่องเที่ยวโดยทัวร์อื่นๆ
รายชื่อและที่ตั้งมัสยิด
โรงแรม / ที่พัก
ร้านอาหาร
ผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจ
ธุรกิจขนาดกลาง/ ขนาดย่อม
กลุ่มอาชีพ / สินค้า
สิ่งอำนวยความสะดวก
การคมนาคม

 

สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
สมาคมไทยธุรกิจการท่องเที่ยว (ATTA)
สมาคมไทยท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และผจญภัย (TEATA)
สมาคมไทยบริการท่องเที่ยว
สมาคมผู้ประกอบการนำเที่ยวแห่งประเทศไทย
สมาคมธุรกิจท่องเที่ยวภายในประเทศ
สมาคมมัคคุเทศก์อาชีพแห่งประเทศไทย
สมาคมโรงแรมไทย
สำนักงานพัฒนาการท่องเที่ยว
ฐานข้อมูลการท่องเที่ยวเชิงการตลาด
ท่องเที่ยววิถีไทย
ลองสเตย์
โฮมสเตย์
เทศบาลเมืองปัตตานี
ลิงค์ทั้งหมด

 

สถานที่ท่องเที่ยว   จังหวัดปัตตานี
tag  จังหวัดสงขลา     tag  จังหวัดปัตตานี     tag  จังหวัดสตูล     tag  จังหวัดยะลา     tag  จังหวัดนราธิวาส    
tag  วัดนาประดู่
วัดนาประดู่

ตั้งอยู่เลขที่ 33 บ้านนาประดู่ ถนนเพชรเกษม หมู่ที่ 1 ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย พื้นที่ตั้งจังหวัดเป็นที่เนินสูง หน้าวัดติดต่อกับทุ่งนา ด้านหลังวัดไกลออกไปประมาณ 2 กิโลเมตร เป็นเชิงเขาสันกาลาคีรี สำหรับปูชนียวัตถุมีรูปเหมือนของหลวงพ่อปาน อดีตเจ้าอาวาสรูปที่ 2 เป็นที่เคารพสักการะของพุทธบริษัทในถิ่นนั้น วัดนาประดู่ สร้างขึ้นเป็นวัดเมื่อประมาณ พ.ศ.2430 เดิมมีนามว่า "วัดกัทลิวัน" ได้เปลี่ยนเป็น "วัดนาประดู่" เมื่..

 

...อ่านต่อ...

 

tag  สุสานโต๊ะรายาฟาเกะห์

สุสานโต๊ะรายาฟาเกะห์ หรือสุสานโต๊ะปาเกะห์ ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 3 บ้านกรือเซะ ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี โต๊ะรายาฟาเกะห์ ชื่อเดิมคือ ชัยคฺ ซอฟียุดดิน อัล-อับบาซ นักการศาสนาอิสลามชาวอาหรับ ซึ่งมีถิ่นพำนักที่เมืองปาไซ เกาะสุมาตรา ก่อนเดินทางมาตั้งบ้านเรือนเป็นการถาวรที่เมืองปัตตานี ในสมัยสุลต่านอิสมาอีล ชาห์ ชัยคฺ ซอฟียุดดิน มีบทบาทสำคัญในการเผยแพร่ศาสนาให้แก่ชาวเมืองปัตตานีและเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการให้คำแนะนำการก่อสร้างมิสยิ..

 

...อ่านต่อ...

 

tag  วังเก่าสายบุรี
วังเก่าสายบุรี

วังนี้สร้างโดยสถาปนิกชาวชวา และช่างท้องถิ่น เมือปี พ.ศ. 2428 ในสมัยพระยาสุริยสุนทรบวรภักดี เจ้าเมืองสายบุรี ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ลักษณะรูปทรงของวังสายบุรีเป็นอาคารไม้ทั้งหลังมี 2 ชั้น หลังคาทรงปั้นหยา เป็นเรือนไทยมุสลิมที่ไรับอิทธิพลมาจากศิลปกรรมของชวา ตัววังเป็นรูป ตัวแอล (L) จากระยะเวลาอันนาวนานทำให้ตัววังทรุดโทรมลง ไม่ได้มีการซ่อมแซมทำให้ชั้นบนไม่สามารถใช้เป็นที่อยู่อาศัยลักษณะเด่นของวังสายบุรี คือพื้นไม้ทำ..

 

...อ่านต่อ...

 

tag  สุสานพระยาสายบุรี หรือสุสานมาราโหง หรือสุสานพระยาสุริยะสุนทร
	สุสานพระยาสายบุรี หรือสุสานมาราโหง หรือสุสานพระยาสุริยะสุนทร

สุสานพระยาสายบุรี หรือสุสานมาราโหง หรือสุสานพระยาสุริยะสุนทร ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 บ้านละเวง ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี  เป็นที่ฝังศพเจ้าเมืองสายบุรีในสมัยการปกครองเจ็ดหัวเมืองหลายพระองค์ คือ ตนกูยาลาลุดดิน (นิเลอไบ) บุตรของรายาโต๊ะกี(นิเดะ) เจ้าเมืองสายบุรีคนก่อน และตนกูอัปดุล กอเดร์(นิกัลซิห์) ชื่อ "พระยาสุริยะสุนทร" หรือชื่อเต็มคือ พระยาสุริยะสุนทรบวรภักดีศรีมหารายามัตตาอัปดุลย์วิบูลย์ ขอบเขตประเทศมาลายู เป็นตำแหนงบรรดาศักดิ..

 

...อ่านต่อ...

 

tag  ตำหนักนิล - ที่ตั้งพระราชวัง

พื้นที่ตำบลตันหยงลุโละและตำบลบาราโหมเป็นที่ตั้งของพระราชวังปัตตานี ที่สร้างขึ้นราว พ.ศ. 2000 โดยรายาศรีวังสา กษัตริย์แห่งโกตามหลิฆัย เมืองหลวงของลังกาสุกะในขณะนั้น เนื่องจากพระองค์เห็นว่าเมืองเดิมที่อยู่ลึกเข้าไปจากชายฝั่งทะเลถึง 12 กิโลเมตร ไม่มีความสะดวกในการติดต่อค้าขายทางเรือในอดีต เนื่องจากทางน้ำตื้นเขิน พ่อค้าและนักเดินเรือค้าขายกันแถบบริเวณปากน้ำและชายทะเลแทน เมื่อรายาศรีวังสาได้ทรงเดินทางมาพักผ่อนและล่าสัตว์ใกล้ชายทะเลดังกล่าวก็ทราบว่า ส..

 

...อ่านต่อ...

 

tag  สุสานตนกูบือซาร์
สุสานตนกูบือซาร์

สุสานตนกูบือซาร์ หรือสุสานตนกูปะสา ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 บ้านดาโต๊ะ ตำบลแหลมโพธิ์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานีเป็นที่ฝังศพของนสุลต่านมูฮัมหมัด หรือตนกูบือซาร์ เจ้าเมืองปัตตานี เชื้อาสนยกลันตัน ปกครองเมืองระหว่างปี พ.ศ.2388-2399 ตนกูบือซาร์ ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระยาวิชิตภักดีศรีสุรวังษารัตนาเขตประเทศราช หลังจากได้รับการแต่งตั้ง ตนกูบือซาร์ได้สร้างวังที่ชายทะเลบ้านตันหยง ชาวบ้านเรียกบริเวณดังกล่าวว่า ตนกูบือซาร์ ซุเบอร์รัด ปัจจุบัน คือ บ้านตั..

 

...อ่านต่อ...

 

tag  สุสานรายาฮีเยา
สุสานรายาฮีเยา

สุสานรายาฮีเยา ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 บ้านปาแระ ตำบลบาราโหม อำเภอเมืองปัตตานี  จังหวัดปัตตานี เป็นที่ฝังศพของเจ้าเมืองปัตตานี 3 พระองค์ ได้แก่ รายาฮีเยา (พ.ศ.2127-2159) รายาบีรู (พ.ศ.2159-2167) และรายาอูงู (พ.ศ.2167-2178) ทั้งสามเป็นธิดาของสุลต่านมันศูร ปาฮาดร์ ชาห์ หลังจากพระองค์สิ้นพระชนม์ โอรสของพระองค์มีนามว่า ปาฮาดูร์ชสห์ ขึ้นครองราชย์ แต่ไม่นานพระองค์ก็สิ้นพระชนม์โดยไม่มีโอรสสืบทายาท ธิดาทั้งสามของสุลต่านมันศูร ปาฮาดร์ ชาห์  จึงไ..

 

...อ่านต่อ...

 

tag  คูเมืองโบราณ

นครปตานีที่กรือเซะและบริเวณใกล้เคียง เป็นเมืองโบราณร่วมสมัยกับอยุธยา สร้างขึ้นบริเวณชายทะเลริมอ่าวปัตตานี เป็นการสืบต่อเมืองโกตามหลิฆัย เมืองโบราณสมัยลังกาสุกะที่กำลังเสื่อมโทรมลงไป รายาศรีวังสา กษัตริย์องค์สุดท้ายของโกตามหลิชัย เห็นว่าการเดินทางไม่สะดวกโดยเฉพาะการขนส่งทางเรือเพราะแม่น้ำที่เคยใช้เป็นเส้นทางการขนส่งกลับตื้นเขิน พระองค์จึงตัดสินใจสร้างเมืองใหม่ขึ้นที่ชายทะเลดังกล่าว โดยเกณฑ์ผู้คนจากเมืองโกตามหลิฆัยและเมืองใกล้เคียงเข้ามาช่วยกันสร้..

 

...อ่านต่อ...

 

tag  อาคารจีนย่านหัวตลาด
อาคารจีนย่านหัวตลาด

ถ้าจะกล่าวถึงประวัติของอาคารคงต้องเริ่มท้าวความจากประวัติการอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในเมืองปัตตานีของชาวจีน  ซึ่งจริงๆเเล้วสามารถนับถอยหลังไปได้ถึงสมัยกรุงศรีอยุธยาตั้งเเต่รัชสมัยของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ซึ่งตรงกับราชวงศ์เหม็งของจีน ในตอนนั้นมีชาวจีนชื่อลิ้มโต๊ะเคี่ยม ปรากฏอยู่ในตำนานเมืองปัตตานี ซึ่งเป็นนายสำเภาเศรษฐีจีน เดินทางมาค้าขายยังเมืองนครศรีธรรมราชในปี ค.ศ. 1580 ซึ่งตรงกับสมัยที่พระยาตานีเป็นเจ้าเมืองปัตตานี เมื่อลิ้มโต๊ะเคี่ยม..

 

...อ่านต่อ...

 

tag  วังหนองจิก
วังหนองจิก

วังหนองจิกตั้งอยู่ที่บ้านตุยง ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก เจ้าเมืองหนองจิกคนสุดท้าย คือ พระยาเพชราภิบาลนฤเบศร์วาปีเขตมุจลินท์นฤบดินทร์ สวามิภักดิ์ (พ่วง ณ สงขลา ) เป็นผู้อยู่อาศัยในวังนี้ ประวัติการก่อสร้างสันนิษฐานว่าอาจสร้างมาตั้งแต่เจ้าเมืองหนองจิกคนก่อน (ทัด ณสงขลา) ก่อนปี พ.ศ.2437 ตัววังที่เหลืออยู่ประกอบด้วยอาคารบริวาร 2 หลังเป็นอาคารชั้นเดียว แต่ยกพื้นสูงประมาณ 1 เมตร สำหรับอาคารที่เป็นตัววังนั้นถูกรื้อถอนไปในระหว่างสงครามมหาเอเชี..

 

...อ่านต่อ...

 

 

หน้า : 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13

   
หน้าหลัก | ข้อมูล 5 จังหวัดชายแดนใต้ | เส้นทางท่องเที่ยวอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (IMT-GT) | เส้นทางท่องเที่ยว 5 จังหวัดชายแดนใต้ | รายงานสรุปแต่ละจังหวัด
 
ผู้รับผิดชอบแผนงานวิจัย
รองศาสตราจารย์ ดร.ศรัณยา บุนนาค คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
181 ถนนเจริญประดิษฐ์ หมู่ที่ 6 ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 94000
มือถือ 081-6980383 โทรศัพท์ +66-73-313-929 Fax+ 66-73-312-232
E-mail Address : saranya.b@psu.ac.th; bsaranya70@hotmail.com
---------------------
Developed and Designed by ME-FI dot com