ข้อมูล 5 จังหวัดชายแดนใต้ อินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (IMT-GT) ประเภทแหล่งท่องเที่ยว
ข้อมูล ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
ข้อมูลทั่วไป
สถานที่ท่องเที่ยว
ประเภทธรรมชาติ
ประเภทประวัติศาสตร์ และศาสนา
ประเภทศิลปะ วัฒนธรรม และประเพณี
การท่องเที่ยวโดยชุมชน
การท่องเที่ยวเชิงเกษตร
เส้นทางท่องเที่ยวโดยทัวร์อื่นๆ
รายชื่อและที่ตั้งมัสยิด
รายชื่อมัสยิด
ผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจ
อาหารและเครื่องดื่ม
ศิลปะหัตถกรรม
การคมนาคม
การเดินทางเข้าสู่ตำบล
 

 

 

 

 

ย่านเมืองเก่าปัตตานี
 
 
ข้อมูลทั่วไป :

ปัตตานีนับเป็นเมืองท่าสำคัญในอดีต เป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปของพวกพ่อค้าชาวตะวันตก ชาวโปรตุเกสและชาวฮอลันดา  ตั้งสถานีการค้าที่ปัตตานีก่อนที่จะติดต่อกับอยุธยา  เรือสินค้าจากจีนและญี่ปุ่นได้ขนถ่ายแลกเปลี่ยนรับสินค้าจากตะวันตกที่ปัตตานี ไปจำหน่ายต่อที่อยุธยาและที่อื่น ๆ  โปรตุเกสเป็นชาวตะวันตกชาติแรกที่เข้ามาติดต่อค้าขายกับปัตตานีในปี พ.ศ. 2059  และในสมัยต่อมาก็มีการติดต่อค้าขายกับพ่อค้าวานิชชาวอังกฤษ ทำให้ปัตตานีมีความเจริญรุ่งเรือง  ส่งผลให้มีผู้คนมาปลูกบ้านเรือนอยู่กันอย่างแน่นหนามาก   เมืองท่าปัตตานีเป็นท่าเรือที่ใหญ่ที่สุดในย่านทะเลแถบนี้

จากความเป็นมาในอดีตดังกล่าว ส่งผลให้เห็นบ้านเรือนเก่าแก่ที่มีร่องรอยของสถาปัตยกรรมแบบตะวันตก ผสมผสานกับศิลปะตะวันออกเข้าไว้ด้วยกันอย่างกลมกลืน ซึ่งยังสามารถเห็นบ้านเรือนเหล่านี้อยู่หลายจุดในตัวเมืองปัตตานี เช่น ถนนอุดมวิถี ต.อาเนาะรู (ทางไป ศาลเจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยว)  ซึ่งใครที่ผ่านไปผ่านมาแถว ถนนอุดมวิถี ในตัวเมืองปัตตานี  ซึ่งนับว่าปัตตานีของเรายังมีร่องรอยของบ้านเรือนแบบสถาปัตยกรรมแบบตะวันตก เช่น แบบโปรตุเกสผสมกับศิลปะแบบจีนอยู่อีกหลายหลังทีเดียว  และนับว่าเป็นร่องรอยของอดีตของเมืองปัตตานีที่น่าศึกษายิ่ง 



-------------------
ขอขอบคุณข้อมูล และรูปภาพจาก  http://www.oknation.net/blog/chabatani/2011/05/19/entry-1

 

 

 

 

   
หน้าหลัก | ข้อมูล 5 จังหวัดชายแดนใต้ | เส้นทางท่องเที่ยวอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (IMT-GT) | เส้นทางท่องเที่ยว 5 จังหวัดชายแดนใต้ | รายงานสรุปแต่ละจังหวัด
 
ผู้รับผิดชอบแผนงานวิจัย
รองศาสตราจารย์ ดร.ศรัณยา บุนนาค คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
181 ถนนเจริญประดิษฐ์ หมู่ที่ 6 ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 94000
มือถือ 081-6980383 โทรศัพท์ +66-73-313-929 Fax+ 66-73-312-232
E-mail Address : saranya.b@psu.ac.th; bsaranya70@hotmail.com
---------------------
Developed and Designed by ME-FI dot com