จังหวัด
อำเภอ
ตำบล
หมวด คีย์เวิร์ด
ข้อมูล 5 จังหวัดชายแดนใต้
จังหวัดสงขลา
จังหวัดปัตตานี
จังหวัดสตูล
จังหวัดยะลา
จังหวัดนราธิวาส
เส้นทางท่องเที่ยวอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-
ไทย (IMT-GT) (คลิกชมทั้งหมด)
เส้นทางท่องเที่ยวสัมผัสเมืองเก..
หาดใหญ่–เมดาน–ปาราปัท–เบอร์รัส..
ไทย(สงขลา) – มาเลเซีย(ปีนัง) –..
ทำบุญไหว้พระ 9 วัดในรัฐกลันตัน
ทัวร์มาเลเซีย เก็นติ้ง 3 วัน 2..
เที่ยวบาหลี สวยที่สุด 4 วัน 3 คืน
เที่ยวเมดาน อินโดนีเซีย 5 วัน ..
ทัวร์เมดาน จากหาดใหญ่ 4 วัน 3 คืน
เกาะสวรรค์ บาหลี อินโดนีเซีย 4..
ทัวร์ล่องเรือสตาร์ครูซ 2 วัน 1 คืน
เส้นทางท่องเที่ยว 5 จังหวัดชายแดนใต้
(คลิกชมทั้งหมด)
โปรแกรมที่ 1 วันเดียว....เที่ยวปัตตานี..
เส้นทาง สงขลา - ปัตตานี - สงขลา “2 วัน..
โปรแกรมที่ 4 วันเดียว...เที่ยวนรา..
โปรแกรมที่ 3 วันเดียว...เที่ยวนรา..
เส้นทาง หาดใหญ่-ด่านประกอบ- มาเลเซีย -..
เส้นทาง สงขลา – สตูล “สัมผัสมหัศจรรย์..
เส้นทางที่ 9 ซิงกอร่า – ลังกาสุกะ – รั..
เส้นทางที่ 7วังประจัน เมืองชายแดนการค้..
เส้นทางที่ 8 หาดใหญ่ – สงขลา – ปีนัง –..
เส้นทางที่ 10ผจญภัยในถ้ำน้ำ ชมความงาม ..
ค้นหาสถานที่ต่างๆ ตามหมวด
เส้นทางท่องเที่ยวโดยนักวิจัย
สถานที่ท่องเที่ยว
เส้นทางท่องเที่ยวโดยทัวร์อื่นๆ
รายชื่อและที่ตั้งมัสยิด
โรงแรม / ที่พัก
ร้านอาหาร
ผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจ
ธุรกิจขนาดกลาง/ ขนาดย่อม
กลุ่มอาชีพ / สินค้า
สิ่งอำนวยความสะดวก
การคมนาคม

 

สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
สมาคมไทยธุรกิจการท่องเที่ยว (ATTA)
สมาคมไทยท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และผจญภัย (TEATA)
สมาคมไทยบริการท่องเที่ยว
สมาคมผู้ประกอบการนำเที่ยวแห่งประเทศไทย
สมาคมธุรกิจท่องเที่ยวภายในประเทศ
สมาคมมัคคุเทศก์อาชีพแห่งประเทศไทย
สมาคมโรงแรมไทย
สำนักงานพัฒนาการท่องเที่ยว
ฐานข้อมูลการท่องเที่ยวเชิงการตลาด
ท่องเที่ยววิถีไทย
ลองสเตย์
โฮมสเตย์
เทศบาลเมืองปัตตานี
ลิงค์ทั้งหมด

 

หอคอยกัวลาลัมเปอร์ KL Tower
 
หอคอยกัวลาลัมเปอร์ KL Tower หอคอยกัวลาลัมเปอร์ KL Tower หอคอยกัวลาลัมเปอร์ KL Tower หอคอยกัวลาลัมเปอร์ KL Tower
 
 

หอคอยกัวลาลัมเปอร์ (มาเลย์: Menara Kuala Lumpur) หรือ หอคอยเคแอล คือ หอคอยสูงที่ตั้งอยู่ในกรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย สร้างเสร็จเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2538 มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการสื่อสารและหอส่งสัญญาณสูงถึง 421 เมตร ภายในหอคอยมีภัตตาคารหมุนรอบ ซึ่งสามารถมองเห็นได้รอบกรุงกัวลาลัมเปอร์

หอคอยแห่งนี้ คือ มุมมองที่เป็นจุดสังเกตของเมืองเช่นเดียวกับเปโตรนาสทาวเวอร์ อย่างไรก็ตาม หอคอยแห่งนี้ปรากฏสูงกว่าเปโตรนาสทาวเวอร์ เพราะมันถูกสร้างอยู่บนเนินเขาใจกลางกรุงกัวลาลัมเปอร์ ในระดับความสูง 515 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล ทำให้หอคอยนี้กลายเป็นสิ่งก่อสร้างที่สูงที่สุดในกรุงกัวลาลัมเปอร์

อาคารท่องเที่ยวถูกออกแบบให้สะท้อนวัฒนธรรมอิสลามของมาเลเซีย ห้องโถงหลักมีเพดานที่ตกแต่งด้วยโดมที่เคลือบด้วยกระจกอันประณีตซึ่งส่องประกายเหมือนเพชรเม็ดใหญ่ โดมเหล่านี้ถูกออกแบบและจัดการในรูปแบบของ Muqarnas หรือคานรับของสถาปัตยกรรมเปอร์เซียหรืออิสลาม โดยนักแกะสลักชาวอิหร่านจาก Isfahan[5]

หอคอยกัวลาลัมเปอร์เปิดให้สาธารณชนเข้าชมเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2539 และเปิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2539 เวลา 20.30 น. ตามเวลาในมาเลเซีย ท่ามกล่างแขกผู้มีเกียรติมากมาย อาทิ ยังดี เปอร์ตวน อากง กษัตริย์แห่งมาเลเซีย

อคอยกัวลาลัมเปอร์ตั้งตระหง่านอยู่เหนือเนินเขาบูกิตนานาส ที่ความสูง 421 เมตร และ สูงกว่าระดับน้ำทะเล 94 เมตร ซึ่งที่นี่ คุณจะได้เห็นวิวตึกสูงซึ่งจะทำให้คุณจดจำ KL ไม่มีวันลืม

หอคอยมีลักษณะทางสถาปัตยกรรมอิสลามมรดกของประเทศ ตกแต่งด้วยตัวอักษรอารบิก กระเบื้องอิสลาม ลายดอกไม้และภาพนามธรรมตามแบบศาสนาอิสลาม ทาสีต่างๆ ที่ให้ความรู้สึกสงบ

นอกเหนือจากทัศนียภาพของเมืองที่เห็นได้โดยรอบแล้ว หอคอยกัวลาลัมเปอร์ยังเปรียบเสมือนแหล่งพักผ่อนหย่อนใจชาวกรุงที่รักธรรมชาติอีกด้วย สวนเขียวขจีที่โอบล้อมหอคอยกัวลาลัมเปอร์ คือป่าบูกิตนานาส ซึ่งเป็นเขตป่าสงวนที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศ 

มีพื้นที่ทั้งหมด 10.05 เฮกเตอร์ และได้ชื่อว่าเป็นปอดของกัวลาลัมเปอร์ ป่าสงวนแห่งนี้ยังเป็นที่อยู่ของพืชและสัตว์นานาชนิด ที่อาศัยอยู่ในป่าเขตร้อนของมาเลเซีย

การเดินทาง

รถยนต์หรือรถแท็กซี่
นักท่องเที่ยวสามารถขับรถมาเองหรือใช้บริการรถสาธารณะ ถนนหลักที่ใช้เดินทางมายังหอคอยได้แก่ จาลันอัมปัง จาลันเกเรจา และจาลันราชาจูลัน 

รถเวียนฟรี
รถเวียนรับส่งผู้โดยสารจากประตูหลักเข้าไปในป่าเพื่อไปทางเข้าหอคอยทุกๆ ครึ่งชั่วโมง โดยให้บริการฟรี 

Light Rapid Transit (LRT)
รถไฟ LRT สายปุตรา จะจอดที่สถานีหอคอยกัวลาลัมเปอร์ (สถานีดังวันกี) 

รถราง
นั่งรถรางมาลงที่สถานีบูกิตนานาส

ติดต่อสอบถาม
Menara Kuala Lumpur Sdn. Bhd.
โทรศัพท์: +603-2020 5444

--------------------
ขอบคุณข้อมูลและภาพประกอบจากเว็บไซต์  http://www.tourism.gov.my ,  http://www.vmy2014.com

Back

 

 

   
หน้าหลัก | ข้อมูล 5 จังหวัดชายแดนใต้ | เส้นทางท่องเที่ยวอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (IMT-GT) | เส้นทางท่องเที่ยว 5 จังหวัดชายแดนใต้ | รายงานสรุปแต่ละจังหวัด
 
ผู้รับผิดชอบแผนงานวิจัย
รองศาสตราจารย์ ดร.ศรัณยา บุนนาค คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
181 ถนนเจริญประดิษฐ์ หมู่ที่ 6 ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 94000
มือถือ 081-6980383 โทรศัพท์ +66-73-313-929 Fax+ 66-73-312-232
E-mail Address : saranya.b@psu.ac.th; bsaranya70@hotmail.com
---------------------
Developed and Designed by ME-FI dot com