จังหวัด
อำเภอ
ตำบล
หมวด คีย์เวิร์ด
ข้อมูล 5 จังหวัดชายแดนใต้
จังหวัดสงขลา
จังหวัดปัตตานี
จังหวัดสตูล
จังหวัดยะลา
จังหวัดนราธิวาส
เส้นทางท่องเที่ยวอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-
ไทย (IMT-GT) (คลิกชมทั้งหมด)
เส้นทางท่องเที่ยวสัมผัสเมืองเก..
หาดใหญ่–เมดาน–ปาราปัท–เบอร์รัส..
ไทย(สงขลา) – มาเลเซีย(ปีนัง) –..
ทำบุญไหว้พระ 9 วัดในรัฐกลันตัน
ทัวร์มาเลเซีย เก็นติ้ง 3 วัน 2..
เที่ยวบาหลี สวยที่สุด 4 วัน 3 คืน
เที่ยวเมดาน อินโดนีเซีย 5 วัน ..
ทัวร์เมดาน จากหาดใหญ่ 4 วัน 3 คืน
เกาะสวรรค์ บาหลี อินโดนีเซีย 4..
ทัวร์ล่องเรือสตาร์ครูซ 2 วัน 1 คืน
เส้นทางท่องเที่ยว 5 จังหวัดชายแดนใต้
(คลิกชมทั้งหมด)
โปรแกรมที่ 1 วันเดียว....เที่ยวปัตตานี..
เส้นทาง สงขลา - ปัตตานี - สงขลา “2 วัน..
โปรแกรมที่ 4 วันเดียว...เที่ยวนรา..
โปรแกรมที่ 3 วันเดียว...เที่ยวนรา..
เส้นทาง หาดใหญ่-ด่านประกอบ- มาเลเซีย -..
เส้นทาง สงขลา – สตูล “สัมผัสมหัศจรรย์..
เส้นทางที่ 9 ซิงกอร่า – ลังกาสุกะ – รั..
เส้นทางที่ 7วังประจัน เมืองชายแดนการค้..
เส้นทางที่ 8 หาดใหญ่ – สงขลา – ปีนัง –..
เส้นทางที่ 10ผจญภัยในถ้ำน้ำ ชมความงาม ..
ค้นหาสถานที่ต่างๆ ตามหมวด
เส้นทางท่องเที่ยวโดยนักวิจัย
สถานที่ท่องเที่ยว
เส้นทางท่องเที่ยวโดยทัวร์อื่นๆ
รายชื่อและที่ตั้งมัสยิด
โรงแรม / ที่พัก
ร้านอาหาร
ผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจ
ธุรกิจขนาดกลาง/ ขนาดย่อม
กลุ่มอาชีพ / สินค้า
สิ่งอำนวยความสะดวก
การคมนาคม

 

สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
สมาคมไทยธุรกิจการท่องเที่ยว (ATTA)
สมาคมไทยท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และผจญภัย (TEATA)
สมาคมไทยบริการท่องเที่ยว
สมาคมผู้ประกอบการนำเที่ยวแห่งประเทศไทย
สมาคมธุรกิจท่องเที่ยวภายในประเทศ
สมาคมมัคคุเทศก์อาชีพแห่งประเทศไทย
สมาคมโรงแรมไทย
สำนักงานพัฒนาการท่องเที่ยว
ฐานข้อมูลการท่องเที่ยวเชิงการตลาด
ท่องเที่ยววิถีไทย
ลองสเตย์
โฮมสเตย์
เทศบาลเมืองปัตตานี
ลิงค์ทั้งหมด

 

มะละกา ประเทศมาเลเซีย
 
มะละกา ประเทศมาเลเซีย มะละกา ประเทศมาเลเซีย
 
 

วางตัวอยูตรงกลางระหวางรัฐเนเกรีเซมบิลัน และยะโฮรทางชายฝงดานตะวันตกของคาบสมุทรมลายูเมืองที่เต็มไปดวยสีสันแหงนี้เคยเปนศูนยกลางการคาที่สำคัญมากในอดีต ดึงดูดพอคาจากหลากหลายที่ทั้งจีน อินเดีย ใหเดินทางเขามาคาขายเปนจำนวนมาก มะละกาถูกคนพบโดยเจาชาย นามวา Parameswara ในขณะที่พระองคทรงเดินทางลี้ภัย จากนั้นก็เติบโตจนกลายเปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจที่สำคัญระหวางตะวันตกและตะวันออก สินคาสำคัญเปนตนวา เครื่องเทศ ทองคำ ผาไหม ชา ฝน ยาสูบ และน้ำหอม กลายเปนสิ่งดึงดูดความสนใจบรรดานักลาอาณานิคมชาวตะวันตก อันเปนผลใหตอมามะละกาตกไปยูใตอาณัติของโปรตุเกส ดัตชและอังกฤษตามลำดับในบางสวนของเมืองยังคงทิ้งรองรอยแหงวันในอดีตผานอาคารเกาแกและสถาปตยกรรมอื่นๆ ซึ่งบรรดาผูที่เคยครอบครองแผนดินแหงนี้ไดทอดทิ้งไวให  เปนอนุสรณของเรื่องราวที่เคยเกิดขึ้นในอดีตเมื่อนานมา ชนพื้นเมืองคือภาพสะทอนและการผสมผสานทางวัฒนธรรมไดเปนอยางดีพวกเขาถายทอดออกมาดวย ขนบประเพณีการแสดงออกทางวัฒนธรรมไปจนถึงรายการอาหารนาลิ้มลองมากมาย แหลงทองเที่ยวทั่วไป อาทินิคมโปรตุเกส อาคารที่วาการแบบดัตช Portade Santiago และบานแบบ Baba-Nyonya ซึ่งพบเห็นไดบริเวณใจกลางเมือง

สถานที่ทองเที่ยว
  • The Stadhuys
ตั้งอยูในบริเวณจัตุรัสอาคารที่มีประตูไมขนาดใหญกำแพงหนาสีแดงทึบ และบานพับเหล็หลอม เปนสัญลักษณ  อันเดนชัดถึงชวงเวลาที่ชาวดัตชเคยปกครองมะละกาในอดีต เชื่อกันวาอาคารแหงนี้สรางขึ้นระหวางป ๑๖๔๑ และ ๑๖๖๐ และเปนอาคารสไตลดัตชที่เกาแกที่สุดในเอเชียและ เปนตัวอยางงาน กอสราง และทักษะงานไมที่ยอดเยี่ยม   พิพิธภัณฑโบราณคดีและพิพิธภัณฑทางวรรณคดี
  • พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์
พิพิธภัณฑแหงนี้รวบรวมเอกสารและหลักฐานความเปนมาของมะละกาประกอบดวยแผนที่สิ่งพิมพภาพเขียน สีน้ำมัน และภาพถาย รวมทั้งสิ่งประดิษฐตางๆ ที่ชาวโปรตุเกส ดัตชจีน และบรรพบุรุษชาวมาเลยทิ้งไวหลายรอยปสามารถพบไดที่นี่
  • พิพิธภัณฑ์ทางโบราณคดี
เปนสถานที่เก็บรวบรวมและจัดแสดงเกี่ยวกับวัฒนธรรมและประเพณีรวมทั้งนิทรรศการการ แตงงาน และการ  ฉลองของแตละกลุมชน
  • พิพิธภัณฑ์ทางวรรณคดี
อาคารที่ตั้งแยกออกมาใกล ๆ กับอาคารหลักนี้ประกอบไปดวยเอกสารตนฉบับของวรรณกรรมมาเลย ที่มีความสำคัญในชวงเวลาที่มะละกามีความรุงเรืองในอำนาจ 
  • โบสถ์เซนต์ปอนด์
จาก Stadhuys เดินขึ้นไปบนเนินเซนตปอนด สูยอดเนินซึ่งเปนที่ตั้งของโบสถเซนตปอนด โบสถแหงนี้สรางขึ้นโดยกัปตันเรือชาวโปรตุเกส และใชชื่อโบสถวา Duarte Coelho ในป๒๕๒๑ ดวยความตั้งใจใหเปนโบสถที่ใหญ  ที่สุดในเมือง เมื่อครั้งที่พวกดัตชเขายึดครองไดเปลี่ยนชื่อโบสถแหงนี้เปน St. Paul’s Church เมื่อโบสถนี้สรางเสร็จในป ๑๗๕๓ ไดมีการยกเลิกการใชงานโบสถและชาวดัตชเปลี่ยนเนินเซนตปอนดเปน         สุสานฝงศพของบุคคลสำคัญ สุสานเปดภายในเซนตปอนดเปนสถานที่ฝงศพของ St. Francis Xavier เมื่อป ๑๕๕๓ หลังจากนั้นไดมีการเคลื่อนยายสวนที่เหลืออยูไปยังเมืองโกอาในอินเดีย มีอนุสาวรียหินออนของ St. Francis Xavier เพื่อรำลึกถึงการกักกันเมื่อ ๔๐๐ ปที่ผานมา ที่บริเวณโบสถบนยอดเนินเปนสถานที่ชมวิว อันนาตื่นตา และหลุมฝงศพแบบดัตชที่สวยงามสามารถพบเห็นไดภายในโบสถ

  • A’Famosa (Porta De Santiago) 
ไมไกลกับโบสถเซนตปอนดดานลางเนินเขาเปนที่ตั้งของปอมปราการ A’Famosa หรือ Porta De Santiago ซึ่งสรางขึ้นเมื่อป๒๕๑๑ และถูกทำลายโดยพวกดัตชแทบทั้งหมด เหลือไวเพียงแตสวนเล็กๆ บน ปอมปราการบนเนินเขาที่มองลงไปเห็นเมืองมะละกาปอมเการอบปราการมีการติดตั้งปนใหญแตถูกโจมตีโดยพวกดัตชในป๑๖๔๑ สรางความเสียหายมากมาย และบางสวนถูกซอมแซมโดยพวกดัตช เมื่อป ๑๖๗๐ และสลักชื่อ East India Company ไว
  • พิพิธภัณฑ์วัฒนธรรม
ไมไกลกันนักจาก A’Famosa ที่เชิงของเนินเซนตปอนด มีแบบจำลองพระราชวังของสุลตาน ทำดวยไมซึ่งประกอบ ๑๕ นิทรรศการสวนใหญเปนเรื่องราวเกี่ยวกับวัฒนธรรมของมะละกา แตก็ยังมีนิทรรศการจากภูมิภาคอื่นของมาเลเซียใหเห็นเชนกัน รวมถึงเสื้อผา อาวุธยุทโธปกรณจารึกบนแผนหิน เครื่องดนตรีและภาพถาย ทั้งยังมีภาพบันทึก  ราชสำนักของสุลตานอีกดวย 
  • Proclamation of Independence Memorial 
ตั้งอยูในวิลลาสไตลอังกฤษที่นับอายุยอนกลับไปไดเมื่อป๑๙๑๒ พิพิธภัณฑแหงนี้รวบรวมหลักฐานทางวิดีโอฟลม และสไลดที่บันทึกเหตุการณสำคัญจนกระทั่งถึงชวงประกาศเอกราช ในป๑๘๕๗ ครั้งหนึ่งสถานที่แหงนี้เคยเปน Malacca Club ปราการแหงการลาอาณานิคมสถาปตยกรรมสไตลที่แตกตางออกไปและไมคอยพบเห็นบอยครั้งนักประกอบ IMT-GTTOURISM61 กับสไตลโมกุล มีรถเชวี่ป ๑๙๕๗ ที่เคยใช เปนพาหนะของนายกรัฐมนตรีคนแรกของมาเลเซีย Tunku Abdul Rahman
  • Christ Church 
ตรงสุดจัตุรัสดานหนึ่งใกลกับ Stadhuys มีโบสถสีแดงแบบดัตชประยุกตที่เรียกวา Christ Church สรางขึ้นเมื่อป ๑๗๕๓ เพื่อทดแทนโบสถเซนตปอนดในฐานะสถานที่ศักดิ์สิทธิ์อันดับแรก อิฐสีชมพูที่นำมาสรางโบสถ นำเขามาจากฮอลแลนดและเชื่อมดวยปูนสีแดงไมที่นำมาทำเพดานใชไมซุงทั้งตนและไมมีรอยเชื่อมตอมานั่งสรางดวยฝมือคนตั้งแตเมื่อ ๒๐๐ ปมาแลว เหนือแทนบูชาตรงกลางมีภาพหลักชุด “Last Supper” บนกระเบื้องเคลือบ คัมภีรไบเบิลทองเหลืองนับอายุไดตั้งแตป ๑๗๗๓ ชาวอังกฤษไดเปลี่ยนโบสถ แหงนี้เปนโบสถแองกลิกันเพิ่มเสาอากาศและหอระฆังเขาไป แตยังคงปายหลุมฝงศพหินแบบดัตชหลง
เหลืออยูบนพื้นโบสถ
  • พิพิธภัณฑ์ยุวชนแห่งมาเลเซีย
ติดกับ Chirst Church บนถนน Jalan Laksamana คือ พิพิธภัณฑยุวชนมาเลเซีย (Muzium Belia Malaysia)  ตัวอยางงานสถาปตยกรรมโคโลเนียลแบบอังกฤษ ซึ่งสมัยกอนเคยเปนที่ทำการไปรษณียเปนสถานที่จัดแสดงเอกสารและภาพถายของสภายุวชนมาเลเซียและกลุมเยาวชนอื่นๆ
  • ป้อมเซนต์จอห์น
ตั้งอยูบนเนินเซนตจอหน สรางโดยพวกดัตชระหวางชวงที่สามของศตวรรษที่ ๑๘ สมัยกอนเคยเปนโบสถโปรตุเกสซึ่งสรางเพื่อระลึกถึง St.John the Baptist ปอมถูกออกแบบใหเปนปราการปองกันภัยจากเมืองมากกวา
  • พิพิธภัณฑ์ทางทะเล
สรางเลียนแบบจากตนแบบเรือขนาดใหญของโปรตุเกสที่ชื่อ Flor de la Mar ประกอบดวยภาพถายแสดงรายละเอียดความเปนมาของมะละกา ภายในมีแบบจำลองเรือและแผนที่และแผนผังที่เคยใชในอดีตหีบเกาและหนักซึ่งเคยใชบรรจุสินคามีคากอนลำเลียงขึ้นเรือก็มีจัดแสดงไวที่นี่
  • พิพิธภัณฑ์กองทัพเรือ
ตรงขามกับพิพิธภัณฑทางทะเลเปนที่ตั้งของพิพิธภัณฑกองทัพเรือ ซึ่งจัดแสดงเรื่องราวทางประวัติศาสตรและเครื่องไมเครื่องมือสมัยกอน จะมีการนำวิวัฒนาการคอมพิวเตอรมาใชบนเรือ นอกจากนั้นยังมีชิ้นสวนสมบัติประเภทเครื่องเคลือบที่กอบกูมาไดจากเรือไดอานา ซึ่งอับปางลงที่มะละกา  เมื่อ ๑๘๑๗ ในระหวางการเดินทางจากเมืองจีนไปมาดราส ประเทศอินเดีย การสำรวจซากเรือเมื่อปพบคารโกของเรือไดอานาซึ่งพบสมบัติมากมายรวมทั้งเครื่องถวยชามแบบจีนที่มีคาจำนวนมหาศาล 
  • โบสถ์เซนต์ปีเตอร์
โบสถนี้ตั้งอยูบนถนน Jalan Bendahara ประกอบดวยหนาตางกระจกสีและหลุมฝงศพโบราณสรางขึ้นเมื่อป ๑๗๑๐ โดยผูสืบเชื้อสายจากชาวโปรตุเกสที่เขามาตั้งถิ่นฐานในยุคแรก โบสถแหงนี้มีชื่อเสียงเรื่อง Good Friday ขบวนแหในวันอีสเตอรและเทศกาล San Pedro ในเดือนมิถุนายน เพื่อเปนการรำลึกถึงเทพผูอุปถัมภชุมชนชาวประมง เทศกาลที่จัดขึ้นเปนประจำทุกปนี้เต็มไปดวยชาวคริสตนิกายคาทอลิกจากทั่วประเทศ และโบสถแหงนี้ยังมีการเชื่อมสัมพันธไมตรีกับโบสถโปรตุเกสในมาเกาอีกดวย 
  • ไซน่าทาวน์
ยานคนจีนในมะละกา ตั้งอยูทางตะวันตกของแมน้ำมะละกา เปนยานที่เต็มไปดวยสีสันและนาสนุกเปนอยางยิ่ง ถนนสายเล็กๆ และแคบเต็มไปดวยรานรวงเกาแกวัด และมัสยิด การผสมผสานระหวางที่ อยูอาศัยกับรานคาสรางความรูสึกราวกับไดยอนกลับไปสูคืนวันกอนเกาของมะละกา
  • พิพิธภัณฑ์บาบาและญวนยา
บาบา และญวนยา คือ คนจีนที่สืบเชื้อสายจากตระกูลชั้นสูง ผูรับเอาวัฒนธรรมแบบมาเลยมาปรับใชบนถนน Jalan Tun Tan Cheng Lock คือทาวนเฮาส Peranakan ที่สรางขึ้นเมื่อสมัยศตวรรษที่ ๑๙ หรือบานบรรพบุรุษที่ปจจุบันแปรสภาพเปนพิพิธภัณฑหรือ Baba-Nyonya museum ไปแลว แบบฉบับของบานจีนสไตลบารอก สรางเปนแนวยาวลึกเขาไปภายในตกแตงเปนคอรตยารดแบบโปรง สามารถเปดรับแสงแดดและสายฝนไดเฟอรนิเจอรไมขนาดใหญซึ่งโดยมากทำจากไมกุหลาบและเปนงานออกแบบผสมผสานเอาศิลปะแบบจีน วิกตอเรีย และดัตชเขาดวยกัน บางชิ้นตกแตงสวยงามดวยชิ้นสวนมุกที่ประกอบเปนรูปนกและดอกซากุระบานสะพรั่ง เครื่องกระเบื้องมีคาสไตล Nyonya จากมณฑลกวางสีและกวางตุงในประเทศจีน ซึ่งสั่งทำเปนพิเศษสำหรับผูสืบสกุล 

Back

 

 

   
หน้าหลัก | ข้อมูล 5 จังหวัดชายแดนใต้ | เส้นทางท่องเที่ยวอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (IMT-GT) | เส้นทางท่องเที่ยว 5 จังหวัดชายแดนใต้ | รายงานสรุปแต่ละจังหวัด
 
ผู้รับผิดชอบแผนงานวิจัย
รองศาสตราจารย์ ดร.ศรัณยา บุนนาค คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
181 ถนนเจริญประดิษฐ์ หมู่ที่ 6 ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 94000
มือถือ 081-6980383 โทรศัพท์ +66-73-313-929 Fax+ 66-73-312-232
E-mail Address : saranya.b@psu.ac.th; bsaranya70@hotmail.com
---------------------
Developed and Designed by ME-FI dot com