จังหวัด
อำเภอ
ตำบล
หมวด คีย์เวิร์ด
ข้อมูล 5 จังหวัดชายแดนใต้
จังหวัดสงขลา
จังหวัดปัตตานี
จังหวัดสตูล
จังหวัดยะลา
จังหวัดนราธิวาส
เส้นทางท่องเที่ยวอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-
ไทย (IMT-GT) (คลิกชมทั้งหมด)
เส้นทางท่องเที่ยวสัมผัสเมืองเก..
หาดใหญ่–เมดาน–ปาราปัท–เบอร์รัส..
ไทย(สงขลา) – มาเลเซีย(ปีนัง) –..
ทำบุญไหว้พระ 9 วัดในรัฐกลันตัน
ทัวร์มาเลเซีย เก็นติ้ง 3 วัน 2..
เที่ยวบาหลี สวยที่สุด 4 วัน 3 คืน
เที่ยวเมดาน อินโดนีเซีย 5 วัน ..
ทัวร์เมดาน จากหาดใหญ่ 4 วัน 3 คืน
เกาะสวรรค์ บาหลี อินโดนีเซีย 4..
ทัวร์ล่องเรือสตาร์ครูซ 2 วัน 1 คืน
เส้นทางท่องเที่ยว 5 จังหวัดชายแดนใต้
(คลิกชมทั้งหมด)
โปรแกรมที่ 1 วันเดียว....เที่ยวปัตตานี..
เส้นทาง สงขลา - ปัตตานี - สงขลา “2 วัน..
โปรแกรมที่ 4 วันเดียว...เที่ยวนรา..
โปรแกรมที่ 3 วันเดียว...เที่ยวนรา..
เส้นทาง หาดใหญ่-ด่านประกอบ- มาเลเซีย -..
เส้นทาง สงขลา – สตูล “สัมผัสมหัศจรรย์..
เส้นทางที่ 9 ซิงกอร่า – ลังกาสุกะ – รั..
เส้นทางที่ 7วังประจัน เมืองชายแดนการค้..
เส้นทางที่ 8 หาดใหญ่ – สงขลา – ปีนัง –..
เส้นทางที่ 10ผจญภัยในถ้ำน้ำ ชมความงาม ..
ค้นหาสถานที่ต่างๆ ตามหมวด
เส้นทางท่องเที่ยวโดยนักวิจัย
สถานที่ท่องเที่ยว
เส้นทางท่องเที่ยวโดยทัวร์อื่นๆ
รายชื่อและที่ตั้งมัสยิด
โรงแรม / ที่พัก
ร้านอาหาร
ผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจ
ธุรกิจขนาดกลาง/ ขนาดย่อม
กลุ่มอาชีพ / สินค้า
สิ่งอำนวยความสะดวก
การคมนาคม

 

สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
สมาคมไทยธุรกิจการท่องเที่ยว (ATTA)
สมาคมไทยท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และผจญภัย (TEATA)
สมาคมไทยบริการท่องเที่ยว
สมาคมผู้ประกอบการนำเที่ยวแห่งประเทศไทย
สมาคมธุรกิจท่องเที่ยวภายในประเทศ
สมาคมมัคคุเทศก์อาชีพแห่งประเทศไทย
สมาคมโรงแรมไทย
สำนักงานพัฒนาการท่องเที่ยว
ฐานข้อมูลการท่องเที่ยวเชิงการตลาด
ท่องเที่ยววิถีไทย
ลองสเตย์
โฮมสเตย์
เทศบาลเมืองปัตตานี
ลิงค์ทั้งหมด

 

เมดาน ประเทศอินโดนีเซีย
 
เมดาน ประเทศอินโดนีเซีย เมดาน ประเทศอินโดนีเซีย
 
 

เมดาน (อินโดนีเซีย: Kota Medan) เป็นเมืองหลวงของ จังหวัดสุมาตราเหนือ ในประเทศ อินโดนีเซีย ตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งด้านทิศเหนือ ของเกาะสุมาตรา เมดานเป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของประเทศอินโดนีเซีย รองจาก จาการ์ตา สุราบายา และ บันดง และยังเป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่ที่อยู่นอก เกาะชวาด้วย

เมดาน เริ่มต้นเป็นหมู่บ้านที่เรียกว่า กัมปง เมดาน (หมู่บ้านเมดาน ). หมู่บ้านเมดาน ถูกก่อตั้งโดย Guru Patimpus ประมาณปี ค.ศ. 1590 พื้นที่ดั้งเดิมของเมดาน เป็นพื้นที่บริเวณที่ แม่น้ำดีลิ Deli River และ แม่น้ำบาบูรา Babura River มาบรรจบกัน พ่อค้าชาวอาหรับในช่วงต้นศตวรรษที่ 16 มีการบันทึกว่า เมดาน มีที่มาจาก เมดิน่า ซึ่งเป็นชื่อเมืองศักดิ์สิทธิ์ในภาคตะวันตกของซาอุดีอาระเบีย อย่างไรก็ตามมีแหล่งข้อมูลอื่น ที่ระบุว่าชื่อของเมดานที่จริงมาจาก คำในภาษาฮินดี ของอินเดียที่ว่า"Maidan"แปลว่า "พื้นดิน" หรือ "ที่ดิน" ชนพื่นเมื่องดั้งเดิมของเมดาน ย้ายถิ่นฐานมาจากคาบสมุทรมาลายู ประเทศมาเลเซียปัจจุบัน เมดานอยู่ภายใต้การปกครองของ สุลต่านแห่งอาเจะห์ มีการพัฒนาจนเจริญรุ่งเรื่องอย่างมาก และ ในรัชสมัยปีที่สองของสุลต่าน Deli (ระหว่าง 1669-1698) เมดานเกิดมีสงครามขึ้น และมีการสู้รบกับกองทหารม้าจากอาเจะห์ จนทำให้เมดานขาดการเหลียวแลจากอาเจะห์ ไม่มีการพัฒนาเท่าที่ควร จนถึงปีค.ศ. 1860 มีการเข้ามาของชาวดัตช์ มีการริเริ่มเพาะปลูกยาสูบ จนทำให้เมดานเป็นเมืองสำคัญทางด้านเศรษฐกิจในภูมิภาค ในปี 1918 เมดานได้กลายเป็นเมืองหลวงอย่างเป็นทางการของ จังหวัดสุมาตราเหนือ

สถานที่สำคัญ
มีอาคารเก่าแก่จำนวนมากใน Medan ที่ยังคงรักษาสถาปัตยกรรมของชาวดัตช์เอาไว้ อาคารเหล่านี้รวมถึงศาลากลางจังหวัดเก่า ไปรษณีย์กลาง และอาคาร The Tirtanadi Water Tower ซึ่งเป็นสัญญาลักษณ์ของเมืองเมดานด้วย

การขนส่งและการเดินทาง
ในเมืองเมดานยังคงนิยมการโดยสาร รถสามล้อที่เรียกว่า motorized becaks อยู่เนื่องด้วยสามารถพบเห็นอยู่ทั่วไป ราคาถูก และสามารถเจรจาต่อรองราคาได้ด้วย นอกจากนี้ยังมีการขนส่งประเภทอื่น เช่นรถแท็กซี่และมินิบัสที่เรียกว่า sudako มีทางรถไฟจากเมดานเชื่อมต่อไปยังเมืองต่างๆ ทั่วเกาะสุมาตรา และท่าเรือที่มีความสำคัญ เพื่อการขนส่งสินค้า สนามบินนานาชาติโพโลเนีย ตั้งอยู่ใจกลางเมืองเมดาน มีสายการบินทั้งในและต่างประเทศ สามารถเลือกโดยสารได้อย่างมากมาย สายการบินที่เดินทางไปเมดานมี สายการบิน Lion Air,สายการบิน Garuda Indonesia,สายการบิน Air Asia, สายการบิน Malaysia Airlines,สายการบิน Singapore Airlines,สายการบิน SilkAir,สายการบิน Firefly, สายการบิน Merpati,สายการบิน Batavia Air, สายการบิน Valuair

(ขอบคุณข้อมูลและภาพจากเว็บไซต์ http://th.wikipedia.org/wiki/เมดาน)

Back

 

 

   
หน้าหลัก | ข้อมูล 5 จังหวัดชายแดนใต้ | เส้นทางท่องเที่ยวอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (IMT-GT) | เส้นทางท่องเที่ยว 5 จังหวัดชายแดนใต้ | รายงานสรุปแต่ละจังหวัด
 
ผู้รับผิดชอบแผนงานวิจัย
รองศาสตราจารย์ ดร.ศรัณยา บุนนาค คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
181 ถนนเจริญประดิษฐ์ หมู่ที่ 6 ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 94000
มือถือ 081-6980383 โทรศัพท์ +66-73-313-929 Fax+ 66-73-312-232
E-mail Address : saranya.b@psu.ac.th; bsaranya70@hotmail.com
---------------------
Developed and Designed by ME-FI dot com