ข้อมูล 5 จังหวัดชายแดนใต้ อินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (IMT-GT) ประเภทแหล่งท่องเที่ยว
ข้อมูล ตำบลกะทู้  อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต
ข้อมูลทั่วไป
สถานที่ท่องเที่ยว
ประเภทธรรมชาติ
ประเภทประวัติศาสตร์ และศาสนา
ประเภทศิลปะ วัฒนธรรม และประเพณี
สันทนาการและการบันเทิง
สถานที่ท่องเที่ยวเชิงวิชาการ
เส้นทางท่องเที่ยวโดยทัวร์อื่นๆ
รายชื่อและที่ตั้งมัสยิด
รายชื่อมัสยิด
โรงแรม / ที่พัก
โรงแรม รีสอร์ท และสปา
ร้านอาหาร
ร้านอาหาร
สิ่งอำนวยความสะดวก
โรงพยาบาล
การคมนาคม
การเดินทางเข้าสู่ตำบล
 

 

 

 

 

ตำบลกะทู้  อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต
 

 
ประวัติความเป็นมา ตำบลกะทู้ เดิมเรียกว่า ล่ายทู หรือไล่ทู หรือไนทู เป็นชุมชนดั้งเดิมที่ตั้งอยู่ในบริเวณที่ราบลุ่มตำบลกะทู้มาช้านาน ในอดีตเศรษฐกิจของตำบลกะทู้ ขึ้นอยู่กับแร่ดีบุกและการเกษตร (รัชกาลที่ 3-8 ) มีฐานะเป็นตำบลหนึ่งของอำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ตั้งแต่รัชกาลที่ 5 ต่อมาจัดตั้งเป็นสุขาภิบาลกะทู้ และได้เปลี่ยนแปลงฐานะเป็นเทศบาลกะทู้ 25 พฤษภาคม 2542 ตามพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะของสุขาภิบาลเป็นเทศบาล พ.ศ.2542
   
สภาพทั่วไปของตำบล มีพื้นที่ทั้งหมด 31.795 ตารางกิโลเมตร (19,871.875 ไร่) ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันตกตัวเมืองภูเก็ต ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม รายล้อมด้วยภูเขาเกือบทั้ง 4 ด้าน มีคลองไหลทอดผ่าน 1 สาย คือ คลองบางใหญ่ ลักษณะภูมิอากาศ มีฝนตกชุกเกือบตลอดปี มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยตลอดปี 2,500 มิลลิเมตร อุณภูมิเฉลี่ยตลอดปี 27.8-29.3 องศษเซลเซียส
   
อาณาเขตตำบล
ทิศเหนือ ติดต่อ ต.เชิงทะเล อ.ถลาง จ.ภูเก็ต
ทิศใต้ ติดต่อ ต.กะรน ต.ฉลอง อ.เมือง จ.ภูเก็ต
ทิศตะวันออก ติดต่อ ทะเลอันดามัน มหาสมุทรอินเดีย
ทิศตะวันตก ติดต่อ ต.รัษฎา ต.วิชิต อ.เมือง จ.ภูเก็ต
   
จำนวนประชากรของตำบล จำนวนประชากรทั้งสิ้น 15,503 คน เป็นชาย 7,256 คน เป็นหญิง 8,247 คน
จำนวนครัวเรือนทั้งสิ้น 3,995 ครัวเรือน
ความหนาแน่นของประชากร 485.26 คน/ตารางกิโลเมตร
   
ข้อมูลอาชีพของตำบล
อาชีพหลัก รับจ้างภาคเอกชน
อาชีพเสริม เกษตรกรรม,พาณิชยกรรม
   
ข้อมูลสถานที่สำคัญของตำบล
1. ศาลเจ้ากะทู้
2. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต
3. ชลประทาน เขื่อนบางวาด
4.น้ำตกกะทู้
5.ศูนย์อนุรักษ์มรดกท้องถิ่นกะทู้
   
ข้อมูลองค์การบริหารส่วนตำบล :
   

 

 

 

   
หน้าหลัก | ข้อมูล 5 จังหวัดชายแดนใต้ | เส้นทางท่องเที่ยวอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (IMT-GT) | เส้นทางท่องเที่ยว 5 จังหวัดชายแดนใต้ | รายงานสรุปแต่ละจังหวัด
 
ผู้รับผิดชอบแผนงานวิจัย
รองศาสตราจารย์ ดร.ศรัณยา บุนนาค คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
181 ถนนเจริญประดิษฐ์ หมู่ที่ 6 ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 94000
มือถือ 081-6980383 โทรศัพท์ +66-73-313-929 Fax+ 66-73-312-232
E-mail Address : saranya.b@psu.ac.th; bsaranya70@hotmail.com
---------------------
Developed and Designed by ME-FI dot com