จังหวัด
อำเภอ
ตำบล
หมวด คีย์เวิร์ด
ข้อมูล 5 จังหวัดชายแดนใต้
จังหวัดสงขลา
จังหวัดปัตตานี
จังหวัดสตูล
จังหวัดยะลา
จังหวัดนราธิวาส
เส้นทางท่องเที่ยวอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-
ไทย (IMT-GT) (คลิกชมทั้งหมด)
เส้นทางท่องเที่ยวสัมผัสเมืองเก..
หาดใหญ่–เมดาน–ปาราปัท–เบอร์รัส..
ไทย(สงขลา) – มาเลเซีย(ปีนัง) –..
ทำบุญไหว้พระ 9 วัดในรัฐกลันตัน
ทัวร์มาเลเซีย เก็นติ้ง 3 วัน 2..
เที่ยวบาหลี สวยที่สุด 4 วัน 3 คืน
เที่ยวเมดาน อินโดนีเซีย 5 วัน ..
ทัวร์เมดาน จากหาดใหญ่ 4 วัน 3 คืน
เกาะสวรรค์ บาหลี อินโดนีเซีย 4..
ทัวร์ล่องเรือสตาร์ครูซ 2 วัน 1 คืน
เส้นทางท่องเที่ยว 5 จังหวัดชายแดนใต้
(คลิกชมทั้งหมด)
โปรแกรมที่ 1 วันเดียว....เที่ยวปัตตานี..
เส้นทาง สงขลา - ปัตตานี - สงขลา “2 วัน..
โปรแกรมที่ 4 วันเดียว...เที่ยวนรา..
โปรแกรมที่ 3 วันเดียว...เที่ยวนรา..
เส้นทาง หาดใหญ่-ด่านประกอบ- มาเลเซีย -..
เส้นทาง สงขลา – สตูล “สัมผัสมหัศจรรย์..
เส้นทางที่ 9 ซิงกอร่า – ลังกาสุกะ – รั..
เส้นทางที่ 7วังประจัน เมืองชายแดนการค้..
เส้นทางที่ 8 หาดใหญ่ – สงขลา – ปีนัง –..
เส้นทางที่ 10ผจญภัยในถ้ำน้ำ ชมความงาม ..
ค้นหาสถานที่ต่างๆ ตามหมวด
เส้นทางท่องเที่ยวโดยนักวิจัย
สถานที่ท่องเที่ยว
เส้นทางท่องเที่ยวโดยทัวร์อื่นๆ
รายชื่อและที่ตั้งมัสยิด
โรงแรม / ที่พัก
ร้านอาหาร
ผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจ
ธุรกิจขนาดกลาง/ ขนาดย่อม
กลุ่มอาชีพ / สินค้า
สิ่งอำนวยความสะดวก
การคมนาคม

 

สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
สมาคมไทยธุรกิจการท่องเที่ยว (ATTA)
สมาคมไทยท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และผจญภัย (TEATA)
สมาคมไทยบริการท่องเที่ยว
สมาคมผู้ประกอบการนำเที่ยวแห่งประเทศไทย
สมาคมธุรกิจท่องเที่ยวภายในประเทศ
สมาคมมัคคุเทศก์อาชีพแห่งประเทศไทย
สมาคมโรงแรมไทย
สำนักงานพัฒนาการท่องเที่ยว
ฐานข้อมูลการท่องเที่ยวเชิงการตลาด
ท่องเที่ยววิถีไทย
ลองสเตย์
โฮมสเตย์
เทศบาลเมืองปัตตานี
ลิงค์ทั้งหมด

 

รายชื่อและที่ตั้งมัสยิด   ทั้งหมด
tag  จังหวัดสงขลา     tag  จังหวัดปัตตานี     tag  จังหวัดสตูล     tag  จังหวัดยะลา     tag  จังหวัดนราธิวาส    
tag  สุเหร่าอาวห์ หรือ มัสยิดอาโฮ
สุเหร่าอาวห์ หรือ มัสยิดอาโฮ

สุเหร่าอาวห์ หรือ มัสยิดอาโฮ ตั้งอยู่ที่หมู่บเานตันหยง ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี เป็นสุเหร่าขนาดเล็กสร้างด้วยไม้ทั้งหลัง ยกพื้นสูงประมาณ 1 เมตร หลังคาทรงจั่ว 3 ชั้น มุงด้วยกระเบื้องดินเผา ถือว่าเป็นมัสยิดรุ่นแรกของปัตตานีที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดที่เหลืออยู่ในเวลานี้ ที่ตั้งของสุเหร่าอยู่ใกล้กับคลองตันหยง ซึ่งเป็นลำน้ำสายหลักของแม่น้ำปัตตานีสมัยลังกาสุกะ ที่ตั้งของมัสยิดเดิมอยู่ริมแม่น้ำ ซึ่งเป็นที่ตั้งของชมุชนขนาดใหญ่ ที่พ่อค้าวานิชเ..

 

...อ่านต่อ...

 

tag  มัสยิดจะบังติกอ
มัสยิดจะบังติกอ

มัสยิดรายอปัตตานี  เดิมเป็นมัสยิดแห่งรัฐปัตตานี เริ่มก่อสร้างเมื่อสมัยเมืองปัตตานีเป็นเมืองหรือรัฐปัตตานี มีเจ้าเมืองปกครองตนเองคือ สุลต่านมูฮัมหมัด(ตนกูบือซา) เป็นเจ้าเมืองปัตตานีช่วงประมาณ พ.ศ. 2388-2399 ได้ทรงเริ่มสร้างมัสยิดประจำเมืองปัตตานี เดิมเป็นสุเหร่าอาคารไม้ สร้างในรั้ววังต่อมาได้ย้ายมาสร้างเป็นอาคารถาวร ณ ที่ปัจจุบันเมื่อสมัยตนกูปูเตะ(2399-2424)
ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกของวังเจ้าเมือง ก่อนถึงสุสานหลวง(กูโบร์โต๊ะอาเยาะฮฺ) 
ต่..

 

...อ่านต่อ...

 

tag  มัสยิดโบราณบาโงยลางา (มัสยิดนัจมุดดีน)
มัสยิดโบราณบาโงยลางา (มัสยิดนัจมุดดีน)

มัสยิดนัจมุดดีน (มัสยิดโบราณ 300 ปี)ที่อยู่ : หมู่ที่ 4 ตำบลทรายขาว อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี 94120ผู้รับผิดชอบ : นายมูฮำหมัด บาเหมบูงา, นายดลฮาพ สาหลำสุหรีกิจกรรมที่ดำเนินการ : มัสยิดโบราณบาโงยลางา (มัสยิดนัจมุดดีน) เป็นศาสนสถานในศาสนาอิสลาม มีการก่อสร้างแบบผสมผสานระหว่างสถาปัตยกรรมไทย และสถาปัตยกรรมของมุสลิม ซึ่งทำให้สุเหร่าแห่งนี้มีลักษณะคล้ายกับศาลาการเปรียญของไทย  สันนิษฐานว่าสร้างในปี พ.ศ. 2177 (ค.ศ.1634) ในรัชสมัยของราชินีราตูอูงู..

 

...อ่านต่อ...

 

tag  มัสยิดดาโต๊ะ
มัสยิดดาโต๊ะ

มัสยิดดาโต๊ะ เป็นมรดกของเมืองยะหริ่ง ตั้งอยู่ในเนื้อที่ประมาณ 240 ตารางเมตร ณ บ้านดาโต๊ะ หมู่ที่ 4 ตำบลแหลมโพธิ์ อำเภอยะหริ่ง อยู่บริเวณกลางแหลมตาชี ห่างจากที่ว่าการอำเภอยะหริ่งไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ประมาณ 10 กิโลเมตร กรมศิลปากร กระทรวงศึกษาธิการ ได้ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน เมื่อปี พ.ศ. 2478 โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 52 ตอนที่ 75 ลงวันที่ 8 เดือน มีนาคม พ.ศ.2478 สภาพปัจจุบัน มัสยิดนี้มี 2 ส่วน คือ ส่วนที่สร้างแต่เดิมอยู่ทางทิศตะวันตก..

 

...อ่านต่อ...

 

tag  มัสยิดกลางจังหวัดปัตตานี
มัสยิดกลางจังหวัดปัตตานี

มัสยิดกลางจังหวัดปัตตานี ตั้งอยู่ถนนยะรัง ตำบลอาเนาะรู อำเภอเมืองปัตตานี เลขทะเบียนที่ 249 มีประวัติและความเป็นมาดังนี้ ในปีพุทธศักราช 2497 รัฐบาลได้ตระหนักถึงความสำคัญของศาสนาอิสลามว่าเป็นศาสนาที่ประชาชนชาวปัตตานีส่วนใหญ่นับถืออย่างเคร่งครัดอันจะนำมาซึ่งสันติสุข ประกอบกับในพื้นที่สี่จังหวัดชายแดนภาคใต้ มีประชากรนับถือศาสนาอิสลาม (มุสลิม) เป็นจำนวนมาก สมควรสร้างมัสยิดกลางที่มีขนาดใหญ่ และสวยงามขึ้นเพื่อเป็นศรีสง่าแก่ชาวไทยผู้นับถือศาสน..

 

...อ่านต่อ...

 

tag  ร้านกะนีโภชนา

ร้านกะนีโภชนา183 หมู่ที่ 1 ตำบลมายอ อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี..

 

...อ่านต่อ...

 

tag  มัสยิดกรือเซะ
มัสยิดกรือเซะ

มัสยิดกรือเซะ เป็นอาคารก่ออิฐถือปูนขนาดกว้าง ๑๕.๑๐ เมตร ยาว ๒๙.๖๐ เมตร สูง ๖.๕๐ เมตร เสาทรงกลม เลียนรูปลักษณะแบบเสาโคชิดของยุโรป ช่องประตูหน้าต่าง มีทั้งแบบโค้งแหลมและโค้งมนแบบโคธิดโดมและหลังคายังก่อสร้างไม่เสร็จ อิฐที่ใช้ก่อมีลักษณะเป็นอิฐสมัยอยุธยา ตรงฐานมัสยิดมีอิฐรูปแบบคล้ายอิฐสมัยทวารวดีปะปนอยู่บ้างตำนานมัสยิดกรือเซ๊ะ ที่กรือเซะ-บานา เป็นเรื่องราวที่ได้สร้างความอัปยศให้กับสังคมมุสลิมนับตั้งแต่ได้มีประวัติศาสตร์อิสลามเกิดขึ้นมาในปัตตานี เริ่ม..

 

...อ่านต่อ...

 

tag  มัสยิดบากัรบาตา
มัสยิดบากัรบาตา

มัสยิดบากัรบาตา หมู่ที่1 ตำบลพิมาน อำเภอเมือง จังหวัดสตูล..

 

...อ่านต่อ...

 

tag  มัสยิดญะบาลุรเราะห์มะฮ์
มัสยิดญะบาลุรเราะห์มะฮ์

มัสยิดญะบาลุรเราะห์มะฮ์ หมู่ที่1 ตำบลควนขัน อำเภอเมือง จังหวัดสตูล..

 

...อ่านต่อ...

 

tag  มัสยิดฮีดายาตุลอีมาน
มัสยิดฮีดายาตุลอีมาน

มัสยิดฮีดายาตุลอีมาน หมู่ที่3 ตำบลปูยู อำเภอเมือง จังหวัดสตูล..

 

...อ่านต่อ...

 

 

หน้า : 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 102 103 104 105 106 107 108 109 110 111 112 113 114 115 116 117 118 119 120 121 122 123 124 125 126 127 128 129 130 131 132 133 134 135 136 137 138 139 140 141 142 143 144 145 146 147 148 149 150 151 152 153 154 155 156 157 158 159 160 161 162 163 164 165 166 167 168 169 170 171 172 173 174 175 176 177 178 179 180 181 182 183 184 185 186 187 188 189 190 191 192 193 194 195 196 197 198 199 200 201 202 203 204 205 206 207 208 209 210 211 212 213 214 215 216 217 218 219 220 221 222 223 224 225 226 227 228 229 230 231 232 233 234 235 236 237 238 239 240 241 242 243 244 245 246 247 248 249 250 251 252 253 254 255 256 257 258 259 260 261 262 263 264 265 266 267 268 269 270 271 272 273 274 275 276 277 278 279 280 281 282 283 284 285 286 287 288 289 290 291 292 293 294 295 296 297 298 299 300 301 302 303

   
หน้าหลัก | ข้อมูล 5 จังหวัดชายแดนใต้ | เส้นทางท่องเที่ยวอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (IMT-GT) | เส้นทางท่องเที่ยว 5 จังหวัดชายแดนใต้ | รายงานสรุปแต่ละจังหวัด
 
ผู้รับผิดชอบแผนงานวิจัย
รองศาสตราจารย์ ดร.ศรัณยา บุนนาค คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
181 ถนนเจริญประดิษฐ์ หมู่ที่ 6 ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 94000
มือถือ 081-6980383 โทรศัพท์ +66-73-313-929 Fax+ 66-73-312-232
E-mail Address : saranya.b@psu.ac.th; bsaranya70@hotmail.com
---------------------
Developed and Designed by ME-FI dot com