จังหวัด
อำเภอ
ตำบล
หมวด คีย์เวิร์ด
ข้อมูล 5 จังหวัดชายแดนใต้
จังหวัดสงขลา
จังหวัดปัตตานี
จังหวัดสตูล
จังหวัดยะลา
จังหวัดนราธิวาส
เส้นทางท่องเที่ยวอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-
ไทย (IMT-GT) (คลิกชมทั้งหมด)
เส้นทางท่องเที่ยวสัมผัสเมืองเก..
หาดใหญ่–เมดาน–ปาราปัท–เบอร์รัส..
ไทย(สงขลา) – มาเลเซีย(ปีนัง) –..
ทำบุญไหว้พระ 9 วัดในรัฐกลันตัน
ทัวร์มาเลเซีย เก็นติ้ง 3 วัน 2..
เที่ยวบาหลี สวยที่สุด 4 วัน 3 คืน
เที่ยวเมดาน อินโดนีเซีย 5 วัน ..
ทัวร์เมดาน จากหาดใหญ่ 4 วัน 3 คืน
เกาะสวรรค์ บาหลี อินโดนีเซีย 4..
ทัวร์ล่องเรือสตาร์ครูซ 2 วัน 1 คืน
เส้นทางท่องเที่ยว 5 จังหวัดชายแดนใต้
(คลิกชมทั้งหมด)
โปรแกรมที่ 1 วันเดียว....เที่ยวปัตตานี..
เส้นทาง สงขลา - ปัตตานี - สงขลา “2 วัน..
โปรแกรมที่ 4 วันเดียว...เที่ยวนรา..
โปรแกรมที่ 3 วันเดียว...เที่ยวนรา..
เส้นทาง หาดใหญ่-ด่านประกอบ- มาเลเซีย -..
เส้นทาง สงขลา – สตูล “สัมผัสมหัศจรรย์..
เส้นทางที่ 9 ซิงกอร่า – ลังกาสุกะ – รั..
เส้นทางที่ 7วังประจัน เมืองชายแดนการค้..
เส้นทางที่ 8 หาดใหญ่ – สงขลา – ปีนัง –..
เส้นทางที่ 10ผจญภัยในถ้ำน้ำ ชมความงาม ..
ค้นหาสถานที่ต่างๆ ตามหมวด
เส้นทางท่องเที่ยวโดยนักวิจัย
สถานที่ท่องเที่ยว
เส้นทางท่องเที่ยวโดยทัวร์อื่นๆ
รายชื่อและที่ตั้งมัสยิด
โรงแรม / ที่พัก
ร้านอาหาร
ผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจ
ธุรกิจขนาดกลาง/ ขนาดย่อม
กลุ่มอาชีพ / สินค้า
สิ่งอำนวยความสะดวก
การคมนาคม

 

สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
สมาคมไทยธุรกิจการท่องเที่ยว (ATTA)
สมาคมไทยท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และผจญภัย (TEATA)
สมาคมไทยบริการท่องเที่ยว
สมาคมผู้ประกอบการนำเที่ยวแห่งประเทศไทย
สมาคมธุรกิจท่องเที่ยวภายในประเทศ
สมาคมมัคคุเทศก์อาชีพแห่งประเทศไทย
สมาคมโรงแรมไทย
สำนักงานพัฒนาการท่องเที่ยว
ฐานข้อมูลการท่องเที่ยวเชิงการตลาด
ท่องเที่ยววิถีไทย
ลองสเตย์
โฮมสเตย์
เทศบาลเมืองปัตตานี
ลิงค์ทั้งหมด

 

เกดะห์ ประเทศมาเลเซีย
 
เกดะห์ ประเทศมาเลเซีย
 
 

Kedah Darul Aman ทอดตัวอยูระหวางเปอรลิส หรือ ปะลิสทางตอนเหนือและเปรักในตอนใตมีสถานเปนหนึ่งในรัฐทางเหนือของเขตชายฝงมาเลเซียมีพื้นที่ทั้งหมด ๙,๒๔๕ ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากกวา ๑.๕ ลานคน ดวยพื้นที่สวนใหญเปนพื้นที่เกษตรกรรม เกดะหจึงมีลักษณะแบบชนบทที่ใหสีสันหลากเฉดสีขึ้นอยูกับฤดูกาลของการเพาะปลูกขาวในเขตชานเมืองจะมองดูเขียวขจีที่สุด ในชวงที่ตนขาวเริ่มเติบโต กอนจะเปลี่ยนเปนสีเหลืองทองในฤดูเก็บเกี่ยว และกลายเปนสีน้ำตาลเหมือนสีผืนดินหลังจากเสร็จสิ้นการเก็บเกี่ยว อาจมีหลายสิ่งซุกซอนอยูเบื้องใตผืนนาขาวที่แผกวาง เพราะเกดะหเคยเปนตนกำเนิดอารยธรรมเกาแกซึ่งเพิ่งปรากฏสูสายตา จากการขุดคนอยางคอยเปนคอยไปตามแหลงขุดคนทางประวัติ ศาสตรภายในรัฐ อลอรสตารคือเมืองหลวงซึ่งเปนที่ตั้งของที่ทำการรัฐบาล และที่พำนักของราชวงศเมืองแหงนี้เปนศูนย กลางการคาเชนเดียวกับเกาะลังกาวีที่อยูภายใตอำนาจของเกดะหนอกจากนี้ยังมีเมือง กูบัง ปาซู (Kubang Pasu)  ปาดัง เตรัป (Padang Terap) โกตา สตาร(Kota Star) ซิก (Sik) ยัน (Yan) กัวลา มูดา (Kuala Muda) บาลิง (Baling) กูลิม (Kulim) บันตารบาฮารู(Bandar Baharu) และเปนดัง (Pendang) 

สถานที่ทองเที่ยว
  • กูนุง เจไรรีสอร์ต
อยูทางใตของอลอรสตารบนทางหลวงซึ่งมุงสูซุนไก เปตานี(Sungai Petani) และบัตเตอรเวิรธ
(Butterworth)  กูนุง เจไร (เขาเกดะห) ใหทัศนียภาพของชนบทและทะเล รอบๆปนังและอังกาวีเขาหินปูนที่
สมบูรณ ดวยปาไมแหงนี้ สูง ๑,๒๐๖ เมตร จากระดับน้ำทะเล และเคยเปนจุดสังเกตที่สำคัญของนักเดินเรือ
  •  อุทยานซุนไก เทรอย (Sungal Terol Forest Park) 
 ที่เชิงเขาเปนสถานที่ที่เหมาะกับการตั้งแคมปจากอุทยานฯ นี้มีถนนคดเคี้ยวยาว ๑๘ กิโลเมตรขึ้นสูยอดเขา หรือถาอยากไดความตื่นเตนลองเดินขึ้นไปก็ไดหางจากอุทยานฯ ราว ๓ กิโลเมตรเปนวัดฮินดูเกาแกที่สรางในศตวรรษที่๖ ไมไกลกันนักเปน Forestry Museum ซึ่งจัดแสดงพืชทองถิ่นและผลผลิตจากไมซึ่งพบในทองที่จากพิพิธภัณฑ  สามารถเดินไปยังน้ำตกและสระน้ำได
  •    หุบเขาบูจัง
  หุบเขาบูจังซึ่งอยูทางทิศตะวันตกของเมืองซุนไก เปตานีมีรองรอยของอารยธรรม ฮินดู-พุทธ ซึ่งมีอายุอยูในราวคริสตศตวรรษที่ ๕ อาณาจักรแหงนี้เคยทำการคาขายกับอินเดีย เขมร และ ศรีวิชัย อีกทั้งพระอี้ชิง พระภิกษุของจีนเคยมาเยือนเมื่อ ค.ศ.๖๗๑ ที่นี่เคยเปนสวนหนึ่งของราชวงศศรีวิชัยแหงสุมา ตราในศตวรรษที่ ๗ สถาปตยกรรมของอาณาจักรนี้เคยรุงเรืองถึงขีดสุดในราวศตวรรษที่ ๑๐ ภายในแหลงโบราณสถานกวา ๕๐ แหง พบวามีซากวัดฮินดูและวัดพุทธซึ่งเรียงรายตอเนื่องกันในเสนทางตั้งแต่ภูเขากูนุง เจไร จนถึงกัวลา มูตาทางตอนใตกลุมนักโบราณคดีชาวอังกฤษแหงควอทริช-เวลสเปนผูขุดคนพบโบ
ราณสถานเหลานี้ ในค.ศ.๑๙๓๖ ใกลกับแมน้ำบูจัง ที่อยูหางจากหมูบานเมอรบ็อค (Merbok) ไปทางเหนือราว ๒ กิโลเมตร คือ พิพิธภัณฑทางโบราณคดีLembah Bujang จัดแสดงเครื่องถวยชามที่ทำจากเปลือหหอย เซรามิก และหินมีอายุเกาแกกวา ๑,๕๐๐ ปตลอดจนเครื่องกระเบื้องจีน หินแกะสลัก ศาสตราวุธของอินเดีย และเพชรพลอยของอาหรับที่ยังไมเจียระไน ที่นาสนใจอยางมากคือการคนพบวัดที่มีอายุราว ๖๐๐ ปสองแหงใน ค.ศ. ๑๙๙๗ และที่โดงดังมากเห็นจะเปน Candi Bukit Batu Pahat อายุ ๑,๐๐๐ ป
  •   สวนป่าบูกิต ฮิเจา
อยูในใจกลางปาสงวนภูเขากูนุง อินัส (Gunung inas Virgin Forest Reserve) ที่บาลิง (Baling) ไกลจากเมืองกูสิม ๕๔ กิโลเมตร ใชเวลาเดินทางไปประมาณหนึ่งชั่วโมง ปา สงวนแหงนี้เต็มไปดวยพืชพรรณ และสัตวปาประจำถิ่นหลากหลายชนิด ถาอยากปกนิกตองไปที่น้ำตกเจ็ดชั้นที่สดชื่นดวยน้ำใสสะอาดดุจแกวเจียระไน ปาสงวนแหงนี้ไดรับการดูแลโดยกรมปาไม
  •  ™  ปันไต เมอร์เตกา
ปนไต เมอรเตกาเปนชายหาดยอดนิยมของเกดะหอยูในเขตกัวลา มูดา หางจากซุนไกเปตานีราว ๓๐ กิโลเมตร หรือ ๔๐ กิโลเมตร จากบัตเตอรเวิรธ ชายหาดขาวสะอาดตาที่ทอดตัวยาวสุดตาแหงนี้มักจะเนืองแนนไปดวยผูคนในวันหยุด อาจเชาเรือไปยังเกาะปูเลา บิดดัน ปูเลา เตเลอรและปาเลา ซงซุง ซึ่งอยู่ บริเวณใกลเคียงไดจากที่นี่ถ้ำ ซึ่งเปนที่คนพบวัตถุโบราณที่อยูใกลกับชายหาดแหงนี้

    ทะเลสาบเปดู
    ทะเลสาบเปดูอยูหางจากอลอรสตารประมาณ ๘๐ กิโลเมตร และอยูหางจากชายแดนประเทศไทย เพียง ๕ กิโลเมตรเทานั้น ถาไดพักที่บานพักแบบกัมปุงที่รีสอรตใกลๆ จะไดอิ่มเอมกับวัน พักผอนอันแสน สุขในแวดลอมของพงไพรที่ใหบรรยากาศชุมชื้นร่มเย็นจากมวลไมที่รายรอบผืนทะเลสาบใสกระจางยังมอบความสนุกสนานกับกีฬาทางน้ำอีกดวย ไมวาจะเปนเรือแคนูวินดเซิรฟ ตกปลา หรือ เจ็ทสกีนอกจากนี้อาจไดเห็นกวาง ชาง หมีหมูปา ที่อยูในปาไดดูนกเปนกิจกรรมยอดนิยมอีกอยางหนึ่งเชนเดียวกับสนามกอลฟ ๑๘ หลุมภายในบริเวณรีสอรต
  • สวนกูนุง เคเรียง
เพียง ๑๒ กิโลเมตรจากอลอรสตารก็จะไดพบกับสวนปาที่เหมาะกับการเดินปา และตั้งแคปใกลๆกัน มีถ้ำกัว เคเรียง (Gua Keriang)
  •  อลอรสตาร์
    อลอรสตาร คือ เมืองหลวงของรัฐเกดะหอยูทางเหนือของปนัง บนทางหลวงเหนือ-ใตซึ่งมุงสู
เขตแดนประเทศไทย เคยมีสถานะเปนอาณานิคมของไทยในบางชวงของประวัติศาสตร มีอาคารอยู หลายแหงที่มีรูปแบบสถาปตยกรรมแบบไทย เมืองแหงนี้เปนสถานที่เกิดของบุคคลที่สำคัญของประเทศคือTunku  Abdul Rahman Putra Al-Haj นายกรัฐมนตรีคนแรก และ Tun Dr.Mahathir Mohamad นายกรัฐมนตรีคนที่ ๔
  •    บาไล เบซาร์
  บาไล เบซารอยูใกลกับจัตุรัสใหญของเมือง สรางขึ้นเมื่อ ค.ศ.๑๘๙๘ และยังคงใชประกอบพระราชพิธีและกิจกรรมของรัฐอยูในทุกวันนี้ อาคารแหงนี้มีโถงขนาดใหญซึ่งโดดเดนดวยเสาสูงตระหงานตกแตงดวยเหล็กดัดแบบวิกตอเรียน อิทธิพลของไทยเห็นไดจากลวดลายไมแกะสลักงามวิจิตร
  • บาไล โนบัต
   บาไล โนบัต เปนที่เก็บเครื่องดนตรีศักดิ์สิทธิ์ของวงดนตรีหลวงซึ่งใชในพระราชพิธีราชาภิเษกพระราชพิธีอภิเษกสมรส และพระราชพิธีศพเครื่องดนตรีศักดิ์สิทธิ์ประกอบดวยลองสามชิ้นฆองและขลุยผิวที่จะสรางเสียงดนตรีแบบโนบัตอันกองกังวาน
  •  เปกัน ราบู 
   เปกัน ราบู (ตลาดวันพุธ) ที่เรียกกันเชนนี้เพราะเคยมีเฉพาะวันพุธ แตปจจุบันศูนยการคาแหงนี้เปดขายทุกวัน ตั้งแตเชาถึงค่ำและเปนที่สนใจของนักทองเที่ยวอีกดวย ที่นีมีผลิตผลจากไรทุกชนิด รวมถึงหัตถกรรมผลไมทองถิ่น เสื้อผาและเครื่องประดับราคายอมเยา 
  • พิพิธภัณฑหลวง
   พิพิธภัณฑหลวงที่ตั้งอยูขางเคียง บาไล เบซารแหงนี้เคยเปนพระราชวังมากอน เปนสถานที่สำหรับจัดแสดงเครื่องใชของสมาชิกราชวงศเกดะหรวมทั้งบอกเลาเรื่องราวแหงความทรงจำในชวงชีวิตของนายกรัฐมนตรีคนแรก - ตุนกูอับดุล ราหมาน ปุตรา อัล-ฮาจ ซึ่งเปนเจาชายแหงราชวงศเกดะหดวย อาวุธลาสัตวนั้นจัดอยูใน Alaska Hall พิพิธภัณฑ  หลวงเปดใหเขาชมทุกวันตั้งแตเวลา ๑๐.๐๐ - ๑๘.๐๐ น. แตในวันศุกรจะปดในชวงเวลา ๑๒.๐๐ - ๑๕.๐๐ น.
  • บาไล เสนีเนการี
   บาไล เสนีเนการีหรือ State Art Gallery อยูในบริเวณใกลเคียงกับจัตุรัสใหญ เปนอาคารที่งดงาม ดวยสถาปตยกรรมแบบโคโลเนียล สิ่งที่จัดแสดงอยูที่นี่มีทั้งภาพวาดโบราณวัตถุและงานประดิษฐที่คนพบภายในรัฐ 
  •  มัสยิดซาฮีร์ 
            มัสยิดซาฮีร มัสยิดกลางของรัฐอยูตรงกันขามกับ บาไล เบซาร สรางเสร็จสมบูรณในป ๑๙๑๒ นับวาเปนหนึ่งในมัสยิดที่เกาแกที่สุดของมาเลเซีย โดดเดนดวยสถาปตยกรรมแบบมัวรซึ่งมีโดมใหญ่อยู หนึ่ง โดมลอมดวยโดมขนาดเล็กกวา และรายรอบดวยหออะซาน 
  • พิพิธภัณฑแหงรัฐ 
                    พิพิธภัณฑแหงรัฐ (Muzium Di Raja) เปนอีกตัวอยางหนึ่งที่สะทอนสถาปตยกรรมทองถิ่นซึ่งผสมผสานดวย อิทธิพลแบบไทย สรางใน ค.ศ.๑๙๓๖ เปนที่เก็บสะสมทรัพยสินของราชวงศเกดะห
  • สถานที่กำเนิกของ ดร.มหาธีร์ โมฮัมหมัด
     ทาน ดร.มหาธีรโมฮัมหมัด นายกรัฐมนตรีคนที่ ๔ ของมาเลเซียเกิดในปค.ศ.๑๙๒๕ ที่เรือนไมทรงปนหยา ณ Lorong Kilang Ais ใกลกับถนน Jalan Pegawai  การตกแตงภายในรวมถึงหองนอนเล็กที่เปนแบบเรียบงาย ยังคงลักษณะดั้งเดิมสมัยที่ทานอดีตนายกรัฐมนตรีอยูในวัยเด็กเอาไวนอกจากนี้ยังจัดแสดงขาวของและเรื่องราวในวัยเยาวจวบจนถึงวันที่ทานกาวขึ้นสูตำแหนงนายกรัฐมนตรี
  • กัวลา  เกดะห์
     อยางออกไปทางตะวันตกของอลอรสตาร ๑๕ กิ โลเมตร ริมชายฝงทะเล กัวลา เกดะหเปนหมูบานประมงที่คึกคัก เต็มไปดวยชีวิตชีวา ที่มีเรือใหญสำหรับขามสูเกาะปูเลา ลังกาวีดวย กัวลา เกดะห มีชื่อเสียงในเรื่องรานอาหารทะเลสดอรอยและเมนูทองถิ่นอยาง Laksa Kuala Kedah หรือ กวยเตี๋ยวแขกที่ทำจากเสนแปงขาวเจาลวกใสในน้ำซุปปลาขนแสนอรอย 


Back

 

 

   
หน้าหลัก | ข้อมูล 5 จังหวัดชายแดนใต้ | เส้นทางท่องเที่ยวอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (IMT-GT) | เส้นทางท่องเที่ยว 5 จังหวัดชายแดนใต้ | รายงานสรุปแต่ละจังหวัด
 
ผู้รับผิดชอบแผนงานวิจัย
รองศาสตราจารย์ ดร.ศรัณยา บุนนาค คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
181 ถนนเจริญประดิษฐ์ หมู่ที่ 6 ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 94000
มือถือ 081-6980383 โทรศัพท์ +66-73-313-929 Fax+ 66-73-312-232
E-mail Address : saranya.b@psu.ac.th; bsaranya70@hotmail.com
---------------------
Developed and Designed by ME-FI dot com