จังหวัด
อำเภอ
ตำบล
หมวด คีย์เวิร์ด
ข้อมูล 5 จังหวัดชายแดนใต้
จังหวัดสงขลา
จังหวัดปัตตานี
จังหวัดสตูล
จังหวัดยะลา
จังหวัดนราธิวาส
เส้นทางท่องเที่ยวอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-
ไทย (IMT-GT) (คลิกชมทั้งหมด)
เส้นทางท่องเที่ยวสัมผัสเมืองเก..
หาดใหญ่–เมดาน–ปาราปัท–เบอร์รัส..
ไทย(สงขลา) – มาเลเซีย(ปีนัง) –..
ทำบุญไหว้พระ 9 วัดในรัฐกลันตัน
ทัวร์มาเลเซีย เก็นติ้ง 3 วัน 2..
เที่ยวบาหลี สวยที่สุด 4 วัน 3 คืน
เที่ยวเมดาน อินโดนีเซีย 5 วัน ..
ทัวร์เมดาน จากหาดใหญ่ 4 วัน 3 คืน
เกาะสวรรค์ บาหลี อินโดนีเซีย 4..
ทัวร์ล่องเรือสตาร์ครูซ 2 วัน 1 คืน
เส้นทางท่องเที่ยว 5 จังหวัดชายแดนใต้
(คลิกชมทั้งหมด)
โปรแกรมที่ 1 วันเดียว....เที่ยวปัตตานี..
เส้นทาง สงขลา - ปัตตานี - สงขลา “2 วัน..
โปรแกรมที่ 4 วันเดียว...เที่ยวนรา..
โปรแกรมที่ 3 วันเดียว...เที่ยวนรา..
เส้นทาง หาดใหญ่-ด่านประกอบ- มาเลเซีย -..
เส้นทาง สงขลา – สตูล “สัมผัสมหัศจรรย์..
เส้นทางที่ 9 ซิงกอร่า – ลังกาสุกะ – รั..
เส้นทางที่ 7วังประจัน เมืองชายแดนการค้..
เส้นทางที่ 8 หาดใหญ่ – สงขลา – ปีนัง –..
เส้นทางที่ 10ผจญภัยในถ้ำน้ำ ชมความงาม ..
ค้นหาสถานที่ต่างๆ ตามหมวด
เส้นทางท่องเที่ยวโดยนักวิจัย
สถานที่ท่องเที่ยว
เส้นทางท่องเที่ยวโดยทัวร์อื่นๆ
รายชื่อและที่ตั้งมัสยิด
โรงแรม / ที่พัก
ร้านอาหาร
ผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจ
ธุรกิจขนาดกลาง/ ขนาดย่อม
กลุ่มอาชีพ / สินค้า
สิ่งอำนวยความสะดวก
การคมนาคม

 

สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
สมาคมไทยธุรกิจการท่องเที่ยว (ATTA)
สมาคมไทยท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และผจญภัย (TEATA)
สมาคมไทยบริการท่องเที่ยว
สมาคมผู้ประกอบการนำเที่ยวแห่งประเทศไทย
สมาคมธุรกิจท่องเที่ยวภายในประเทศ
สมาคมมัคคุเทศก์อาชีพแห่งประเทศไทย
สมาคมโรงแรมไทย
สำนักงานพัฒนาการท่องเที่ยว
ฐานข้อมูลการท่องเที่ยวเชิงการตลาด
ท่องเที่ยววิถีไทย
ลองสเตย์
โฮมสเตย์
เทศบาลเมืองปัตตานี
ลิงค์ทั้งหมด

 

เปรัก ประเทศมาเลเซีย (ต่อ1)
 
เปรัก  ประเทศมาเลเซีย (ต่อ1) เปรัก  ประเทศมาเลเซีย (ต่อ1)
 
 

สถานที่ท่องเที่ยว (ต่อ)
  • ‘เกาะแบนดิ้ง
  ติดกับทะเลสาบ  คือ เกาะแบนดิ้ง ซึ่งเปนจุดเงียบสงบสำหรับผูนิยมกิจกรรมกลางแจง มีรีสอรทใหบริ การนักทองเที่ยว และติดกันเปนจุดพำนักสำหรับนักทองเที่ยวพรอมทั้งที่พักแสนสะดวกสบาย 

  • อุทยานทางโบราณคดีเบงกองและโกตาทามปัน .š 
  ยังคงมีการขุดคนพบอยูไมหยุดหยอนสำหรับอุทยานประวัติศาสตรแหงนี้ใกลกับตัวเมืองเลงกอง คือ กัว บาดัก (Gua Badak) กัว ฮาริเมา (Gua Harimua) ตาสิก ราบัน (Tasik Raban) และลาดา เคคาบู (Lata Kekabu) มีภาพเขียนกอนยุคประวัติศาสตรที่ถูกคนพบในถ้ำไรโนเซรอส (Rhinoceros Cave) และถ้ำเสือ หางจากเลงกอง คือ อุทยานประวัติศาสตร โกตา ทัมปน (Kota Tampan Archeological Site) 

  • สวนนกกัวลา กูลา
  ตั้งอยูทางตะวันออกตกเฉียงเหนือของเปรัก และเปนที่อยูอาศัยของนกพันธุพื้นเมืองของมาเลเซีย กวา ๑๖๐ ชนิด นกหายากมากมายสามารถพบเห็นไดที่นี่ในบรรดานกหลากหลายชนิดมีบางชนิดที่ใกลสูญพันธุเต็มที  ฤดูกาลที่ดีที่สุดสำหรับการดูนก คือ ระหวางเดือนกันยายนถึงเดือนธันวาคม ในบริเวณเดียวกันยังสามารถพบเห็นสัตวจำพวกอื่นอีกมาก  เปนตนวา ดางแวนถิ่นใตลิงแสม เปนตน นอกจากนี้ยังสามารถนั่งเรือโดยติดตอไดทั้งที่กัมบุง คูลา (Kampong Gula) และกัวลาคูเรา (Kuala Kurau) 

  • ไทปิง .• 
  ไทปง  หมายความวา  สันติภาพที่เปนนิรันดร  เปนเมืองหนึ่งที่เกาแกที่สุดของมาเลเซีย รูกันอีกชื่อวา ลารุต (Larut) และสมรภูมิเลือดระหวางคนทำงานในเหมืองชาวจีน อังกฤษไดตั้งชื่อใหมใหเมืองแหงนี้หลังสิ้นสุดการประหัตประหาร ไทปงตั้งอยูหางจากอีโปหประมาณ ๙๕ กิโลเมตร เปนรัฐแรกในประเทศที่มีทะเล สาบ สวนสัตวและพิพิธภัณฑ

  • สวนทะเลสาบไทปิง .• 
  เปนสวนทะเลสาบที่แรกของประเทศ และยังคงเปนสวนที่ดีที่สุดแหงหนึ่ง ประกอบไปดวยทัศนียภาพสวยงามตรึงตาและอุดมไปดวยพืชพันธุไมดอกไมใบมากมาย นอกจากนั้นยังเปนสวนสัตวแหงแรกของประเทศเปนที่ที่นักทองเที่ยว  สามารถเฝาชมพฤติกรรมนารักของสัตวหลากหลายประเภททั้งกลางวันและกลางคืนดวยไนทซาฟารีในสวนสัตวอีกดวย 

  • พิพิธภัณ์เปรัก
  ตั้งอยูบนจาลัน มิวเซียม (Jalan Musuem) พิพิธภัณฑแหงนี้กอตั้งขึ้นเมื่อป ๑๘๘๓ และเปนพิพิธภัณฑ ที่เกาแกที่สุดของประเทศในสถานที่แหงนี้มีพิพิธภัณฑสัตววิทยา พิพิธภัณฑกอนประวัติศาสตรและพิพิธภัณฑชาติ พันธุศึกษารวมอยูดวย รวบรวมคอลเลคชั่นสำคัญทางโบราณคดีมาก มาย เปนตนวาอาวุธโบราณ เครื่องใชไมสอยของชนเผาและรายละเอียดอื่นๆ ซึ่งแสดงความรุงเรืองของเปรักเมื่อครั้งอดีต 

  • บูกิต ลารุต
  รีสอรทบนเขาที่เกาแกที่สุดของมาเลเซีย ตั้งอยูสูงกวาระดับน้ำทะเลที่ ๑,๐๓๕ เมตร ในอดีตเคยเปน ไรปลูกชา บนยอดเขาเปนจุดชมวิวสวยตระการตา สามารถมองเห็นชายฝงมาเลเซียไดชัดเจนและในวันที่ทองฟาแจมใสก็ยังสามารถเห็นเกาะปงกอรไดอีกดวย มีที่พักแสนสะดวกสบายบนเขาชื่อวา Larut Resthouse และบังกะโลไวบริการนักทองเที่ยวที่มาเยือนในเวลาสั้นๆ มีรถโดยสารบริการจากบริเวณเชิงเขาตั้งแต เวลา ๗ โมงเช า ไปจนกระทั่ งถึง ๖ โมงเย็น นอกจากนั้นบนถนนจาลัน แอร เทอร จูน (Jalan Air Terjun) ยังมีสระวายน้ำ Burmese Pool ซึ่งเปนสระวายน้ำแหงแรกของประเทศอีกดวย 

  • สนามกอลฟและคันทรีคลับบูกิต จานา
  ชานเมืองไทปง เปนที่ตั้งของสนามกอลฟขนาด ๑๘ หลุม ชื่อวา สนามกอลฟบูกิต จานา (Bukit Jana Golf and Country Club) 

  • กัวลา กังซาร์
 กัวลา กังซาร ตั้งอยูไกลจากอีโปห ประมาณ ๖๐ กิโลเมตร นอกจากเปนเมืองที่พำนักของเจาประจำรัฐแลว ยังเปนที่ตั้งของวิทยาลัยมาเลยและสถาบันการศึกษาที่ผลิตผูนำคนสำคัญของประเทศเปนจำนวนมาก ตั้งขึ้นเมื่อชวงเริ่มตน ทศวรรษ ที่ทาเรือในกัวลา กังซารมีเจาของเรือคอยใหบริการทัวรลองแมน้ำเปรัก นอกจากนั้นที่นี่ยังมีชื่อเสียงในเรื่องการทำเครื่องปนดินเผาสีดำที่รูจักกันในชื่อ ลาบูซายง (Labu Sayong) ซึ่งมีคุณสมบัติในการเก็บความเย็นของน้ำ และยังขึ้นชื่อเรื่องขนมเคกที่ทำจากฟกทองหอดวยใบตอง
แสนอรอยอีกดวย 

  • มัยสยิดอาบู อดีอาห์
  มงกุฎเกียรติยศของกัวลา กังซาร คือ มัสยิดแหงนี้ตั้งอยูที่บูกิต ชันดัน (Bukit Chandan) และสรางขึ้นเมื่อชวงเปลี่ยนของศตวรรษและมีชื่อเสียงในฐานะมัสยิดที่สวยที่สุดแหงหนึ่งของประเทศ  สงางามดวยสถาปตยกรรมอิสลาม ดวยยอดโดมสีทองตระหงานและหออะซานที่มีลักษณะเฉพาะการกอ สรางมัสยิดแหงนี้เริ่มขึ้นสมัย สุลตานอีดริส มัวรซีดุล อัดซัม ซาหที่๑ (Sultan Edris Murshidul Adzam Shah) ซึ่งเปนสุดดานองคที่ ๒๘ ของรัฐเปรัก แตเพราะกอกวนตลอดเวลาชางหลายเชือกทำลายพื้นหินออนที่สั่งมาจากอิตาลีสองครั้งระหวางสงครามโลกครั้งที่ ๑ แตทายที่สุดมัสยิดก็เปดอยางเปนทางการเมื่อ ป ๑๙๑๗ 

  • พิพิธภัณฑ์หลวง
  พิพิธภัณฑหลวง เปนอาคารไมที่มีลักษณะเดนเฉพาะ ตั้งอยูใกลกับวังของสุลตานแหงเปรักในกัวลา กังซาร  กอนนี้รูจักกันในนาม อิสตานา เทปาส (Istana Tepas) และอิสตานา เลมบาห(Istana Lembah) อาคาร นี้สรางขึ้นโดยไมมีแปลน และไมใชตะปูแมแตตัวเดียว  ภายในประกอบไปดวย รอยัล รีกาเลีย (Royal Regalia) ภาพถายเชื้อพระวงศและสิ่งประดิษฐสำหรับราชวงศตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน 

  • ต้นยางพาราอายุมากที่สุด
 ไดมีการนำยางพาราเขามาในประเทศเมื่อป ๑๘๗๗ ในตอนนั้นตนยางพาราทั้งหมดเกาตนถูกปลูกไวหนาอาคารสำนักงานเขต ตรงแยกจาลัน ตุน อับดุล ราชัก (Jalan Tun Abdul Razak) และจาลันราชา จูลัน (Jalan Raja Chulan) ในกัวลา กังซารโดยเอช เอ็น วิดเลย(H.N. Ridley) ปจจุบันตนยางพาราที่อายุมากเหลานั้นยังคงพบเห็นไดที่บริเวณอาคารสำนักงาน เชื่อกันวาเปนตนยางพาราที่อายุมากที่สุด เปนยางพาราที่แตกสาขาออกมาจากเกาตนชุดแรกที่นำมาปลูกในมาเลเซีย 

  • ลูมุต
  หางจากอีโปห ไปทางตะวันตกเฉียงใตประมาณ ๘๔ กิโลเมตร หรือ ๒๐๖ กิโลเมตร ไปทางใตของ บัตเตอรเวิรธ ปจจุบันอาชีพหลักของคนที่นี่ คือ การทำประมง เปนฐานของกองทัพเรือ และทาเรือพาณิชย รองรับกลุมอุตสาหกรรมในบริเวณเดียวกัน  ครั้งหนึ่งที่แหงนี้เคยเปนสนามแขงเรือและเปนทาเรือเพื่อเดินทางไปยังเกาะปงกอร  หาดที่สวยที่สุดของ   ลูมุตเห็นจะเปนเตลุก บาติก (Teluk Batik) หาดทรายขาวบริสุทธิ์ที่ทอดตัวยาวแหงนี้กลายเปนลานเทศกาลแหงทองทะเลที่จัดขึ้นระหวางเดือนตุลาคมถึงพฤศจิกายนของทุกป  เทศกาลดังกลาวประกอบไปดวยการแขงขันกีฬาทางน้ำ การแสดงทางวัฒนธรรม ซึ่งดึงดูดผูคนหลายพันคนใหมาเที่ยวชม 

  • เกาะปังกอร์
  อีกดานหนึ่งของแหลมมันจุง (Manjung Straits) ฝงตรงขามของลูมุต  คือ  หมูบานชาวประมงที่เต็มไป ดวยความมีชีวิตชีวา ชื่อวา พูเลา ปงกอร(Pulua Pangkor) เกาะที่มีขนาดใหญที่สุดในบรรดาเกาเกาะ เกาะแหงนี้เต็มไปดวยความหลากหลายของวัฒนธรรมชาวประมงและที่พักมีสไตลสำหรับวันหยุดพักผอน มีการ อยูอาศัยบริเวณชายฝงที่ทำประมงซึ่งหาดูไดยากเต็มที  นอกจากนั้นยังสามารถเพลิดเพลินกับการรับลมริมหาดหรือชมรีสอรทสวยงามที่อยูในบริเวณเดียวกัน 
  บรรดาชาวประมงตางกระจายสรางที่อยูอาศัยทางฝงตะวันออกหันหนาออกสูลูมุต และเตลุกบาติกผูมาเยือนสามารถพบเห็นไดหากนั่งเรือเฟอร์รีที่ใช เวลาประมาณ ๔๐ นาที จากลูมุต  เรือเฟอรรีจอดตรง
นิคมขนาดใหญ ชื่อ ซุนไก ปนัง เดชิล (Sungai Penang Kecil) และซุนไก ปนัง เบซาร (Sungai Penang Besar)       กอนมุงหนาไปยังตัวเมืองปงกอร
  ปงกอรมีหาดขึ้นชื่ออยู ๒ หาด คือ ปะสีหโบกัก (Pasir Bogak) และเตลุก นิปา (Teluk Nipa) เพียบพรอมดวย    กิจกรรมทามกลางสายลมและแสงแดด หรือกิจกรรมทางน้ำ  ไมวาเปนการดำน้ำตื้นหรือลึก วินด เซิรฟ หรือตกปลา ในขณะที่ปะสีหโบกัก นั่นคอนขางล้ำหนา แตเตลุกนิปา ยังคงบรรยากาศแบบหมูบานริมทะเลเล็กๆ เกาะทั้งสองมีที่พักหลากสไตลหลายแบบสำหรับนักเดินทางทุกระดับ เกาะทั้งสองมีที่เชารถตู หรือมอเตอรไซคเที่ยวชมรอบเกาะ  อีกทั้งยังมีราน อาหารทะเลมากมายแมกระทั่งในตัวเมืองปงกอรเอง 

  • โดตา เบนลันดา
  อาคารอายุกวา ๓๐๐ ปของโกตา เบลันดา หรือปอมของชาวดัตช(Dutch Fort) ตั้งอยูที่เตลุก เกดุง (Teluk Gedung) ปอมแหงนี้สรางขึ้นเมื่อป ๑๖๗๐ และเปนปราการดานสำคัญที่สกัดกั้นพวกโจรสลัดและศัตรูรอบตัวไมใหเขามารุกราน ปอมแหงนี้ถูกทิ้งใหรกรางหลังถูกทำลายโดยนักรบชาวมาเลยนำโดย พังลิมา คูลุบ (Panglima Kulub) และสมุนของเขา  มีการซอมแซมภายใตการดูแลของพิพิธภัณฑแหงชาติเมื่อป ๑๙๗๘ 


      หาดปงกอร
  • ปะสีร์ โบกัก
  เพราะความที่เปนหาดทรายสีขาว มีลักษณะตรงทอดยาวไปไกลทำใหหาดแหงนี้ไดรับความนิยมจาก นักทองเที่ยวเปนจำนวนมาก ไมตองแปลกใจหากชวงเทศกาลหาดจะวุนวายไปดวยคนทองถิ่นที่เดินทางขามมาจากแผนดินใหญ  น้ำทะเลที่นี่ยังใสแจวและมีแนวปะการังใหดำน้ำระดับตื่นดูไดอยางเพลิดเพลินใจ 

  • เตลุก เกตาปัง
  ดานเหนือของปะสีร โบกัก คือ หาดเตลุก เกตาปง หรือเรียกอีกชื่อวา Turtle Bay เพราะที่นี่เปนที่ที่บรรดาเตาทะเลขึ้นมาวางไขในฤดูกาลวางไขของพวกมัน  ชวงเวลาที่ดีที่สุดในการเฝาดูเตาทะเลวางไข คือ ชวงเดือนพฤษภาคมถึงกรกฎาคม 

  • เตลุก นิปาห์
  หาดสวรรคแหงนี้ไดรับการขนานนามวา บันได ปูเตรีเดวี ซึ่งแปลความหมายไดวา หาดเจาหญิงแสนสวย บนหาดแหงนี้มีรีสอรทหรูที่ตั้งอยูตรงจุดที่ดีที่สุด มีหองพักหรูหราที่สามารถมองเห็นทะเลสวยไดเต็ม ตา นอกจากนั้นยังมีสปอรตคอมเพล็กซและกอลฟคอรสทั้งยังมีสัตวปาบางชนิดและนกขนาดใหญใหชื่นชมอีกดวย 


      เกาะโดยรอบ 
  • ปังกอร์ ลาอุต
  ใกลกันกับเกาะปูเลา ปงกอรมีรีสอรตที่มีชื่อเสียงมาตรฐานนานาชาติอีกแหงหนึ่ง ชื่อ ปงกอร ลาอุด รีสอรต (Pangkor Laut Resort) ชายหาดที่อาวมรกต (Emerald Bay) นั้นเปนที่ยอมรับวาเปนหาดที่สวยที่สุดแหงหนึ่งของมาเลเซีย 

  • ปูเลา เซมบิลัน 
  เพียงนั่งเรือ ๒ ชั่วโมงจากปูเลา ปงกอร  ก็จะพบกับเกาะเซมบิลัน ที่ที่มีหาดทรายขาวและเพียบพรอมไปดวยความสะดวกอีกทั้งยังเปนสวรรคของนักตกปลาและเต็มไปดวยสถานที่ทองเที่ยวมากมายอีกดวย การเดินทางสูปูเลาเซมบิลันสามารถทำไดโดยลงเรือที่บากัน ดาโตะห ไดเชนกัน (Bagan Datoh) 

  • ศูนย์หัตถกรรมปูเลา ติกา
   ชางฝมือชาวเปรัก  มีชื่อเสียงในเรื่องภาชนะปนดินเผาและกระเบื้องเคลือบและเสื้อผา และที่ศูนย หัตถกรรมแหงนี้เปนศูนยกลางการแสดงผลงานอันนาทึ่ง รวมทั้งผาผืนที่ทอดวยดิ้นทองฝมือละเอียดลออก็มีแสดงไวที่นี่สินคาประเภทภาชนะดินเผาและเครื่องเคลือบมีหลากแบบหลายประเภทใหเลือกชมเลือกซื้อ รวมทั้งงานหัตถกรรมที่หาชมไดยากอยาง ลาบูซายง (Labu Sayong) ซึ่งทำจากดินเหนียวสีดำที่ไดจากที่พิเศษ ลาบูซายง นี้มีคุณสมบัติในการเก็บ ความเย็นใหน้ำที่อยูดานใน แมในภาวะอากาศรอนอบอาว ศูนย หัตถกรรมแหงนี้นับวาเปนสถานที่ขายสินคาพื้นเมืองที่ครบวงจรทีเดียว 


การเดินทาง 

อีโปห ซึ่งเปนเมืองหลวงอยูหางจากกรุงกัวลาลัมเปอรประมาณ ๒๐๕ กิโลเมตร และหางจากปนังประมาณ ๑๖๕ กิโลเมตร ซึ่งเมืองแหงนี้เชื่อมตอการเดินทางที่สะดวกสบายกับภูมิภาคอื่นๆ โดยการเดินทางทั้งทางรถยนตรถไฟ และทางอากาศ 
  • ทางอากาศ
  ทาอากาศยานสุลตานอัสลันซาห (Azlan Shah) สามารถรองรับเครื่องบินขนาดเล็กไปจนถึงขนาดกลาง มาเลเซียแอรไลนมีเที่ยวบินจากปนังและผานทางกัวลาลัมเปอรจากสนามบินมีรถประจำทางและแท็กซี่ใหบริการสูตัวเมือง 
  • ทางรถยนต์
   มีรถแท็กซี่ใหบริการจากโกตาบาหรู (Kota Baru) อลอรสตาร(Alor Star) ปนัง (Penang) ไทปง (Taiping) และกัวลา กังซาร (Kuala Kangsar) จากทางเหนือ และจากคาเมรอนไฮแลนด (Cameron Highland) เตลุก อินตาน (Teluk Intan) ตันจุง มาลิม (Tanjung Malim) และกัวลาลัมเปอร(Kuala Lumpur) จากทิศใตสูอีโปหอัตราคาโดยสารตั้งแต ๖ - ๒๐ ริงกิต  ขึ้นอยูกับระยะทาง รถแท็กซี่จะจอดรอจนกระทั่งคนเต็มจึงออกรถ 
  • ทางรถโดยสารประจำทาง
  มีรถโดยสารประจำทางจากกัวลาลัมเปอรและบัตเตอรเวิรธสูเมดานเทอรมินัสในอีโปห มีบริการรถประจำทางจากบริษัทเอกชนหลายบริษัทเดินทางจากเหนือสูใต และจากหลากหลายพื้นที่ในประเทศสู่อีโปหครอบคลุมเสนทาง เชน บัตเตอรเวิรธ โกตาบาหรูกัวลา กังซารไทปง ลูมุต และบาตู กาจาห  จากทางเหนือ จากสิงคโปรกัวลาลัมเปอรและเตลุก อินตาน ทางตอนใตบริการหลักๆ จากรถประจำทางเอกชน เชน Express Nasional, SPT. Sri Maju, Plusliner และ Nice 
  • ทางรถไฟ 
  รถไฟสายเหนือบริหารงานโดยการรถไฟมาลายัน หรือ KTMB (Keretapi Tanah Melayu Berhad) หยุด รับสงผูโดยสารตามเมืองสำคัญในเปรัก เชน ตันจง มาลิม (Tanjong Malim) บาตูกาจาห (Batu Gajah) 
อีโปห (Ipoh) กัวลา กังซาร(Kuala Kangsar) ไทปง (Taiping) และปะริตบุนตาร (Parit Buntar) 


ข้อมูลเสริม
• สภาเทศมนตรีอีโปห   ตั้งอยูบนถนนจาลัน อับดุล อาดิล (Jalan Abdul Adil) โทร. ๐๕-๒๔๑ ๓๗๓๓ 
• ศูนยบริการขอมูลนักทองเที่ยวแหงเปรัก   อาคารสำนักเลขาธิการรัฐ ถนนจาลัน พังลิมา บูกิต กันดัง วาฮับ โทร. ๐๕-๒๔๑ ๒๙๕๙ แฟกซ๐๕-๒๔๑ ๒๙๕๘ 
• สมาคมการทองเที่ยวเปรัก   เลขที่ ๒๒ เพอเชียรัน เมดาน เบอรชาน ๕ (Perskarab Nedab /bercgam 5) ๓๑๔๐๐ Ipoh, Perak โทร. ๐๕-๓๓๖ ๓๒๖๑ แฟก ๐๕-๓๓๖ ๓๒๗๕ 

Back

 

 

   
หน้าหลัก | ข้อมูล 5 จังหวัดชายแดนใต้ | เส้นทางท่องเที่ยวอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (IMT-GT) | เส้นทางท่องเที่ยว 5 จังหวัดชายแดนใต้ | รายงานสรุปแต่ละจังหวัด
 
ผู้รับผิดชอบแผนงานวิจัย
รองศาสตราจารย์ ดร.ศรัณยา บุนนาค คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
181 ถนนเจริญประดิษฐ์ หมู่ที่ 6 ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 94000
มือถือ 081-6980383 โทรศัพท์ +66-73-313-929 Fax+ 66-73-312-232
E-mail Address : saranya.b@psu.ac.th; bsaranya70@hotmail.com
---------------------
Developed and Designed by ME-FI dot com