ข้อมูล 5 จังหวัดชายแดนใต้ อินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (IMT-GT) ประเภทแหล่งท่องเที่ยว
ข้อมูล ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
ข้อมูลทั่วไป
สถานที่ท่องเที่ยว
ประเภทธรรมชาติ
ประเภทศิลปะ วัฒนธรรม และประเพณี
รายชื่อและที่ตั้งมัสยิด
รายชื่อมัสยิด
ผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจ
อาหารและเครื่องดื่ม
ธุรกิจขนาดกลาง/ ขนาดย่อม
กลุ่มอาชีพ / สินค้า
สิ่งอำนวยความสะดวก
สถานีตำรวจ
การคมนาคม
การเดินทางเข้าสู่ตำบล
 

 

 

 

 

ขนมเจาะหู (ตือปงดือแร)
 
 
ข้อมูลทั่วไป :

ชื่อขนมเจาะหู (ตือปงดือแร)
ประเภทและลักษณะเป็นขนม
ประวัติความเป็นมา
นางสีตีแอเสาะ อาเยาะแซ เป็นผู้ทำขนมเจาะหู ซึ่งเป็นขนมที่ทำกันมาเป็นเวลายาวนาน ตนได้รับความรู้การถ่ายทอดของมารดาและได้ประกอบอาชีพทำขนมมาเป็นเวลาเกือบ ๑๕ ปี
ขนมเจาะหู เป็นขนมโบราณชนิดที่ขึ้นชื่อของบ้านตรอแซ หมู่ที่ ๕ ตำบลยะรัง เป็นขนมที่มีรสชาติหอม หวาน อร่อย น่ารับประทาน ตนได้ไปจำหน่ายตามตลาดนัดปัตตานีทุกวันทั้งปลีกและส่ง
วัสดุที่ใช้
แป้งข้าวเจ้า ๒๐ ห่อ
น้ำตาลแว่น ๒.๕ กิโลกรัม
น้ำตาล ๒ กิโลกรัม
น้ำ ๓ ลิตร
ผงฟู ๒ ช้อนโต๊ะ
น้ำมัน ๗ กิโลกรัม
เกลือเล็กน้อย
วิธีทำ
ต้มน้ำให้เดือดใส่น้ำตาลแว่น น้ำตาล เกลือ เคี่ยวให้ละลาย แล้วยกลง
นำแป้งข้าวเจ้า ผงฟู มาผสมกัน แล้วนำน้ำเชื่อมจากน้ำตาลแว่นมาใส่นวดให้เข้ากันตั้งไว้สักพัก ระหว่างไปก่อไฟตั้งน้ำมันให้ร้อน จึงนำแป้งปั้นเป็นกลม ๆ เล็กเจาะหูตรงกลาง แล้วนำไปทอดให้เหลือง ยกลงเสด็ดน้ำมัน จึงรับประทานได้ ถ้ารับประทานร้อน ๆ ขนมจะกรอบอร่อย ตั้งให้เย็นจึงนำไปบรรจุถุงพร้อมจำหน่าย
สถานที่ผลิตขนมบ้านภูมิปัญญา ชื่อขนมเจาะหู (ตือปงดือแร)
ประเภทและลักษณะเป็นขนม
ประวัติความเป็นมา
นางสีตีแอเสาะ อาเยาะแซ เป็นผู้ทำขนมเจาะหู ซึ่งเป็นขนมที่ทำกันมาเป็นเวลายาวนาน ตนได้รับความรู้การถ่ายทอดของมารดาและได้ประกอบอาชีพทำขนมมาเป็นเวลาเกือบ ๑๕ ปี
ขนมเจาะหู เป็นขนมโบราณชนิดที่ขึ้นชื่อของบ้านตรอแซ หมู่ที่ ๕ ตำบลยะรัง เป็นขนมที่มีรสชาติหอม หวาน อร่อย น่ารับประทาน ตนได้ไปจำหน่ายตามตลาดนัดปัตตานีทุกวันทั้งปลีกและส่ง
วัสดุที่ใช้
แป้งข้าวเจ้า ๒๐ ห่อ
น้ำตาลแว่น ๒.๕ กิโลกรัม
น้ำตาล ๒ กิโลกรัม
น้ำ ๓ ลิตร
ผงฟู ๒ ช้อนโต๊ะ
น้ำมัน ๗ กิโลกรัม
เกลือเล็กน้อย
วิธีทำ
ต้มน้ำให้เดือดใส่น้ำตาลแว่น น้ำตาล เกลือ เคี่ยวให้ละลาย แล้วยกลง
นำแป้งข้าวเจ้า ผงฟู มาผสมกัน แล้วนำน้ำเชื่อมจากน้ำตาลแว่นมาใส่นวดให้เข้ากันตั้งไว้สักพัก ระหว่างไปก่อไฟตั้งน้ำมันให้ร้อน จึงนำแป้งปั้นเป็นกลม ๆ เล็กเจาะหูตรงกลาง แล้วนำไปทอดให้เหลือง ยกลงเสด็ดน้ำมัน จึงรับประทานได้ ถ้ารับประทานร้อน ๆ ขนมจะกรอบอร่อย ตั้งให้เย็นจึงนำไปบรรจุถุงพร้อมจำหน่าย
สถานที่ผลิตขนมบ้านภูมิปัญญา บ้านเลขที่ ๑๒๖ หมู่ที่ ๕ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ๙๔๑๖๐
โทรศัพท์ ๐๘๔-๓๐๐๒๐๖๖

 

 

ข้อมูลการติดต่อ :

    บ้านเลขที่ ๑๒๖ หมู่ที่ ๕ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ๙๔๑๖๐
    โทรศัพท์ ๐๘๔-๓๐๐๒๐๖๖


    --------------------
    ขอบคุณข้อมูลและภาพประกอบจากเว็บไซต์ http://m-culture.in.th

 

 

 

 

   
หน้าหลัก | ข้อมูล 5 จังหวัดชายแดนใต้ | เส้นทางท่องเที่ยวอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (IMT-GT) | เส้นทางท่องเที่ยว 5 จังหวัดชายแดนใต้ | รายงานสรุปแต่ละจังหวัด
 
ผู้รับผิดชอบแผนงานวิจัย
รองศาสตราจารย์ ดร.ศรัณยา บุนนาค คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
181 ถนนเจริญประดิษฐ์ หมู่ที่ 6 ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 94000
มือถือ 081-6980383 โทรศัพท์ +66-73-313-929 Fax+ 66-73-312-232
E-mail Address : saranya.b@psu.ac.th; bsaranya70@hotmail.com
---------------------
Developed and Designed by ME-FI dot com