จังหวัด
อำเภอ
ตำบล
หมวด คีย์เวิร์ด
ข้อมูล 5 จังหวัดชายแดนใต้
จังหวัดสงขลา
จังหวัดปัตตานี
จังหวัดสตูล
จังหวัดยะลา
จังหวัดนราธิวาส
เส้นทางท่องเที่ยวอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-
ไทย (IMT-GT) (คลิกชมทั้งหมด)
เส้นทางท่องเที่ยวสัมผัสเมืองเก..
หาดใหญ่–เมดาน–ปาราปัท–เบอร์รัส..
ไทย(สงขลา) – มาเลเซีย(ปีนัง) –..
ทำบุญไหว้พระ 9 วัดในรัฐกลันตัน
ทัวร์มาเลเซีย เก็นติ้ง 3 วัน 2..
เที่ยวบาหลี สวยที่สุด 4 วัน 3 คืน
เที่ยวเมดาน อินโดนีเซีย 5 วัน ..
ทัวร์เมดาน จากหาดใหญ่ 4 วัน 3 คืน
เกาะสวรรค์ บาหลี อินโดนีเซีย 4..
ทัวร์ล่องเรือสตาร์ครูซ 2 วัน 1 คืน
เส้นทางท่องเที่ยว 5 จังหวัดชายแดนใต้
(คลิกชมทั้งหมด)
โปรแกรมที่ 1 วันเดียว....เที่ยวปัตตานี..
เส้นทาง สงขลา - ปัตตานี - สงขลา “2 วัน..
โปรแกรมที่ 4 วันเดียว...เที่ยวนรา..
โปรแกรมที่ 3 วันเดียว...เที่ยวนรา..
เส้นทาง หาดใหญ่-ด่านประกอบ- มาเลเซีย -..
เส้นทาง สงขลา – สตูล “สัมผัสมหัศจรรย์..
เส้นทางที่ 9 ซิงกอร่า – ลังกาสุกะ – รั..
เส้นทางที่ 7วังประจัน เมืองชายแดนการค้..
เส้นทางที่ 8 หาดใหญ่ – สงขลา – ปีนัง –..
เส้นทางที่ 10ผจญภัยในถ้ำน้ำ ชมความงาม ..
ค้นหาสถานที่ต่างๆ ตามหมวด
เส้นทางท่องเที่ยวโดยนักวิจัย
สถานที่ท่องเที่ยว
เส้นทางท่องเที่ยวโดยทัวร์อื่นๆ
รายชื่อและที่ตั้งมัสยิด
โรงแรม / ที่พัก
ร้านอาหาร
ผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจ
ธุรกิจขนาดกลาง/ ขนาดย่อม
กลุ่มอาชีพ / สินค้า
สิ่งอำนวยความสะดวก
การคมนาคม

 

สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
สมาคมไทยธุรกิจการท่องเที่ยว (ATTA)
สมาคมไทยท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และผจญภัย (TEATA)
สมาคมไทยบริการท่องเที่ยว
สมาคมผู้ประกอบการนำเที่ยวแห่งประเทศไทย
สมาคมธุรกิจท่องเที่ยวภายในประเทศ
สมาคมมัคคุเทศก์อาชีพแห่งประเทศไทย
สมาคมโรงแรมไทย
สำนักงานพัฒนาการท่องเที่ยว
ฐานข้อมูลการท่องเที่ยวเชิงการตลาด
ท่องเที่ยววิถีไทย
ลองสเตย์
โฮมสเตย์
เทศบาลเมืองปัตตานี
ลิงค์ทั้งหมด

 

สถานที่ท่องเที่ยว   ทั้งหมด
tag  จังหวัดสงขลา     tag  จังหวัดปัตตานี     tag  จังหวัดสตูล     tag  จังหวัดยะลา     tag  จังหวัดนราธิวาส    
tag  อุทยานแห่งชาติเขาลำปี-หาดท้ายเหมือง
อุทยานแห่งชาติเขาลำปี-หาดท้ายเหมือง

อุทยานแห่งชาติ ชายหาดท้ายเหมืองเป็นหาดทรายสะอาดขนานไปกับทางหลวงแผ่นดินมีความยาวกว่า 13 กม. น้ำทะเลใส เล่นน้ำได้ระหว่างเดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ์ จะมีเต่าทะเลขึ้นมาวางไข่ จึงมีประเพณีเดินดูเต่าไข่ในตอนกลางคืนเดือนหงาย และช่วงที่ไข่เต่าฟักเป็นตัวจะมีการปล่อยเต่าลงทะเล เรียกว่า ประเพณีเดินเต่า อุทยานแห่งชาติ ชายหาดท้ายเหมืองเป็นหาดทรายสะอาดขนานไปกับทางหลวงแผ่นดินมีความยาวกว่า 13 กม. น้ำทะเลใส เล่นน้ำได้ระหว่างเดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ์ จะมีเต่าทะเลขึ้..

 

...อ่านต่อ...

 

tag  ศาลากลางจังหวัดพังงา หลังเก่า
ศาลากลางจังหวัดพังงา หลังเก่า

ศาลากลางจังหวัดพังงา หลังเก่า ตั้งอยู่ถนนเพชรเกษม ตำบลท้ายช้าง อำเภอเมืองพังงา เป็นตึกชั้นเดียวขนานไปกับถนนเพชรเกษม รูปแบบอาคารเป็นทรงปั้นหยา ตรงกึ่งกลางอาคารด้านหน้าต่อเป็นหน้ามุขเปิดโล่ง มีระเบียงยาวตลอดตัวอาคาร ปลายปีกอาคารทั้งสองข้างจัดเป็นห้องโถงใหญ่ เสาเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก ฝาผนังก่ออิฐถือปูน พื้นอาคารเป็นใม้เนื้อแข็ง เก่าแก่แข็งแรง หลังคาปูด้วยกระเบื้องซีเมนต์ สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๓ ตรงกับสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่..

 

...อ่านต่อ...

 

tag  สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์พังงา
สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์พังงา

สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์พังงา ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลเมืองพังงาติดกับถนนเพชรเกษม มีเนื้อที่ประมาณ ๑๐๐ ไร่ ภายในสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์พังงา มีถ้ำฤาษีสวรรค์และถ้ำลูกเสื้อ เป็นถ้ำที่สามารถทะลุกันได้ ถ้ำฤาษีสวรรค์อยู่หน้าถ้ำลูกเสือ ภายในถ้ำทั้งสองเย็นสบายมีธารน้ำใส และหินงอกหินย้อยที่สวยงาม เป็นแหล่งพักผ่อนและแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของจังหวัดพังงา..

 

...อ่านต่อ...

 

tag  เกาะปันหยี
เกาะปันหยี

เกาะปันหยีเป็นเกาะขนาดเล็กในอ่าวพังงา มีที่ราบประมาณ ๑ ไร่ ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพประมง ขายของที่ระลึกและขายอาหารแก่นักท่องเที่ยว มีโรงเรียนประถมศึกษา ๑ แห่ง ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม..

 

...อ่านต่อ...

 

tag  ทะเลหมอกภูตาจอ
ทะเลหมอกภูตาจอ

ทะเลหมอกภูตาจอ อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ป่าเขาปลายโต๊ะ-ป่าเขาสก อยู่บนพื้นที่นกฮูก หมู่ที่ ๑ ตำบลเหล อำเภอกะปง จังหวัดพังงา โดยเส้นทางจากองค์การบริหารส่วนตำบลเหลใช้เส้นทางบ้านช้างเชื่อ ผ่านหมู่บ้านนกฮูกถึงเขตอนุรักษ์ ประมาณ ๕.๕ กิโลเมตร และต้องใช้รถโฟวิลเพราะเส้นทางเป็นถนนลูกรังและมีความชันเล็กน้อย ระยะทางประมาณ ๑๓ กิโลเมตรเล่ากันว่า มีตาจอ หรือนายจอ เป็นผู้บุกเบิกเข้ามาทำเหมืองเป็นคนแรก ต่อมาแป๊ะท้ายเว แป๊ะคีม แป๊ะจงหรอย เจ้หลุย มาทำเหมืองต่อ ๆ ..

 

...อ่านต่อ...

 

tag  เขาช้าง
เขาช้าง

เขาช้างเป็นภูเขาหินลูกใหญ่ถือเป็นสัญลักษณ์ของจังหวัดพังงา วางตัวยาวตามแนวเหนือ-ใต้กว่า ๓ กิโลเมตร พบร่องรอยหลักฐานของมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์ที่เพิงผา ได้แก่ เครื่องมือหินกะเทาะ ทำจากสะเก็ดหินเครื่องมือกระดูกปลายแหลง ค้อนหิน เศษภาชนะดินเผาทั้งแบบเรียบและแบบมีลายเชือกทาบ กระดูกสัตว์บก กระดองเต่า ก้ามปู และเปลือกหอยน้ำเค็ม..

 

...อ่านต่อ...

 

tag  ศาลหลักเมืองพังงา (ศาลเจ้าแม่สายทอง)
ศาลหลักเมืองพังงา (ศาลเจ้าแม่สายทอง)

ศาลเจ้าแม่หลักเมืองพังงา ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ ๑ บ้านควร ปัจจุบันกองดินที่ฝังศพเจ้าแม่สายทอง ประดิษฐานอยู่ภายในศาลหลักเมืองพังงา ซึ่งก่อสร้างเมื่อประมาณร้อยกว่าปี มีประวัติความเป็นมาเล่าว่าได้มีการแต่งคนถือฆ้องกลองแห่แหนเรียกขานชื่อผู้หญิงเจ้าของบ้านที่ตั้งครรภ์ โดยมีข้อตกลงว่าห้ามคนที่ถูกเรียกขานตอบรับ จนถึงบ้านนางสายทองที่ตำบลท้ายเหมืองในปัจจุบัน ซึ่งสามีไม่อยู่บ้าน ขณะที่ขบวนฆ้อง กลอง เรียกชื่อนางสายทอง ซึ่งนางสายทองได้ขานรับเพราะเข้าใจว่าสามีมาเ..

 

...อ่านต่อ...

 

tag  เขาเขียน
เขาเขียน

เขาเขียน เป็นเขาหินปูนอยู่ในอ่าวพังงา อำเภอเมือง จังหวัดพังงา มีความยาวกว่า ๒ กิโลเมตรทางทิศตะวันออกของภูเขา มีเพิงผาเป็นรอยบากตามแนวยาวของภูเขา รอยบากเหล่านี้เป็นแหล่งที่พบภาพศิลปะถ้ำโบราณยุคก่อนประวัติศาสตร์แบบลงสีตามผนังและเพดาน เป็นภาพคน ปลา ปู ค่าง นก ลูกศร ตัวอักษร สัญลักษณ์ ภาพคนแบกปลา ภาพเส้นคู่ขนาน ภาพลายเส้น..

 

...อ่านต่อ...

 

tag  เขาพิงกัน
เขาพิงกัน

เขาพิงกันตั้งอยู่หมู่ที่ ๒ ตำบลเกาะปันหยี อำเภอเมืองพังงา จังหวัดพังงาระยะทางจากจังหวัดประมาณ ๑๕ กิโลเมตร เป็นแหล่งท่องเที่ยวสำคัญมีลักษณะทางธรรมชาติเป็นเอกลักษณ์ที่รู้จักแพร่หลายแห่งหนึ่งของจังหวัด บริเวณเขาพิงกันจะมีหาดทรายสีขาว เขาพิงกันเป็นภูเขาหินขนาดใหญ่กลางทะเลในบริเวณอ่าวพังงา มีลักษณะที่เป็นจุดเด่นแลกตา ซึ่งเกิดจากการเลื่อนตัวของเปลือกโลก คือ ภูเขาแตกออกเป็นแนวตัดตรง และทรุดตัวต่ำลง ฐานเคลื่อนออกจากแนวเดิมเล็กน้อยเป็นเหตุให้แท่งหินซีกที่..

 

...อ่านต่อ...

 

tag  เจดีย์เขาล้างบาศ
เจดีย์เขาล้างบาศ

เจดีย์เขาล้างบาศ ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลเมืองพังงา อำเภอเมือง จังหวัดพังงา สร้างอยู่บนยอดเขาเตี้ย ๆ สูงจากฐานถึงยอดประมาณ ๗ เมตร ฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส กว้าง ๕.๕๐ เมตร ฐานย่อมุมไม้สิบสอง ซ้อนกันสามชั้น ประดับด้วยลายเครือเถา แกนกลางเป็นไม้แก่นยึดยอดเจดีย์กับองค์เจดีย์ ไม่ปรากฏว่าสร้างในสมัยใด กรมศิลปากรได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศทั่วไป เล่มที่ ๑๑๓ ตอนพิเศษ ๕๐ง วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๓๙ เนื้อที่ประมาณ ๔ ไร่ ๔๒๕ ตารางวา..

 

...อ่านต่อ...

 

 

หน้า : 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 102 103 104 105 106 107 108 109 110 111 112 113 114 115 116 117 118 119 120 121 122 123 124 125 126 127 128 129 130 131 132 133 134 135 136 137 138 139 140 141 142 143 144 145 146 147 148 149 150 151 152 153 154 155 156 157 158 159 160 161 162 163 164 165 166 167 168 169 170 171 172 173 174 175 176 177 178 179 180 181 182 183 184 185 186 187 188 189 190 191 192 193 194 195 196 197 198 199 200 201 202 203 204 205 206 207 208 209 210 211 212 213 214 215 216 217 218 219 220 221 222 223 224 225 226

   
หน้าหลัก | ข้อมูล 5 จังหวัดชายแดนใต้ | เส้นทางท่องเที่ยวอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (IMT-GT) | เส้นทางท่องเที่ยว 5 จังหวัดชายแดนใต้ | รายงานสรุปแต่ละจังหวัด
 
ผู้รับผิดชอบแผนงานวิจัย
รองศาสตราจารย์ ดร.ศรัณยา บุนนาค คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
181 ถนนเจริญประดิษฐ์ หมู่ที่ 6 ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 94000
มือถือ 081-6980383 โทรศัพท์ +66-73-313-929 Fax+ 66-73-312-232
E-mail Address : saranya.b@psu.ac.th; bsaranya70@hotmail.com
---------------------
Developed and Designed by ME-FI dot com