ข้อมูล 5 จังหวัดชายแดนใต้ อินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (IMT-GT) ประเภทแหล่งท่องเที่ยว
ข้อมูล ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
ข้อมูลทั่วไป
สถานที่ท่องเที่ยว
ประเภทธรรมชาติ
ประเภทประวัติศาสตร์ และศาสนา
ประเภทศิลปะ วัฒนธรรม และประเพณี
การท่องเที่ยวโดยชุมชน
การท่องเที่ยวเชิงเกษตร
เส้นทางท่องเที่ยวโดยทัวร์อื่นๆ
รายชื่อและที่ตั้งมัสยิด
รายชื่อมัสยิด
ผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจ
อาหารและเครื่องดื่ม
ศิลปะหัตถกรรม
การคมนาคม
การเดินทางเข้าสู่ตำบล
 

 

 

 

 

ประเภทประวัติศาสตร์ และศาสนา ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
tag สุสานเจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยว
สุสานเจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยว

สุสานเจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยว  ตั้งอยู่ที่บ้านกรือเซะ ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมือง ตามทางหลวงหมายเลข 42 (ปัตตานี-นราธิวาส) ใกล้กับมัสยิดกรือเซะ มีตำนานเล่าว่าลิ้มกอเหนี่ยวได้ลงเรือสำเภามาตามพี่ชายชื่อลิ้มโต๊ะเคี่ยม ซึ่งมาแต่งงานกับธิดาพระยาตานี และได้เปลี่ยนมานับถือศาสนาอิสลามกลับประเทศจีนไม่สำเร็จ จึงได้ผูกคอตายที่ต้นมะม่วงหิมพานต์ ลิ้มโต๊ะเคี่ยมจึงได้ฝังศพลิ้มกอเหนี่ยวไว้ที่นี่ ต่อมาชาวปัตตานี นำต้นไม้ที่ลิ้มกอเหนี่ยวผูกคอตายมาแกะเป็นรูปบูชาและสร้างศาลเจ้าขึ้นเรื่องเจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยวเป็นตำนาน..

 

อ่านต่อ

tag สุสานโต๊ะรายาฟาเกะห์

สุสานโต๊ะรายาฟาเกะห์ หรือสุสานโต๊ะปาเกะห์ ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 3 บ้านกรือเซะ ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี โต๊ะรายาฟาเกะห์ ชื่อเดิมคือ ชัยคฺ ซอฟียุดดิน อัล-อับบาซ นักการศาสนาอิสลามชาวอาหรับ ซึ่งมีถิ่นพำนักที่เมืองปาไซ เกาะสุมาตรา ก่อนเดินทางมาตั้งบ้านเรือนเป็นการถาวรที่เมืองปัตตานี ในสมัยสุลต่านอิสมาอีล ชาห์ ชัยคฺ ซอฟียุดดิน มีบทบาทสำคัญในการเผยแพร่ศาสนาให้แก่ชาวเมืองปัตตานีและเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการให้คำแนะนำการก่อสร้างมิสยิดกรือเซะ จนกระทั่งแล้วเสร็จสมบูรณ์ในสมัยสุลต่าน มู..

 

อ่านต่อ

tag สุสานลิ้มโต๊ะเคี่ยม

สุสานโต๊ะเคี่ยม ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมิองปัตตานี ชาวตันหยงลุโละ เรียก ลิ้มโต๊ะเคี่ยมว่า โต๊ะอาโก๊ะ หรือโต๊ะเคียน สุสานดังกล่าวอยู่ในชุมชนร่วมกันสุสานของมุสลิมคนอื่นๆ เป็นเวลายาว นานกว่า 400 ปี สถานที่ฝังศพลิ้มโต๊ะเคี่ยม อยู่ริมอ่าวปัตตานีใกล้กับสุสานชาวจีนในทะเล ชื่ออ่าวปัตตานี บริเววณดังกล่าวปรากฎในจดหมายเหตุราช วงศ์เหม็ง เรียกว่า "อ่าวต้าวเฉียน" ตามชื่อของเต้าเฉียน หรือหลินต้าวเฉียน (ลิ้มโต๊ะเคี่ยม) วีรบุรุษชาวจีนจากเมืองเฉวียนโจว มณฑลฮกเกี้ยนที่มาพำนักอาศัยในเมืองปัตตานี แ..

 

อ่านต่อ

tag สุสานโต๊ะยาวอ

สุสานโต๊ะยาวอ เป็นสุสานของชาวชวาที่พำนักอาศัยอยู่ในเมืองปัตตานีในช่วงต้นสมัยการเข้ารับอิสลามของชาวปัตตานี ที่ตั้งของสุสานอยู่ห่างจากมัสยิดกรือเซะไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ 500 เมตร จุดเด่นของสุสานแห่งนี้ คือ ความงดงามของหินเหนือหลุมฝังศพแบบอสเจะห์ ที่มีการสลักลวดลายลงบนหินทรายสีขาว สภาพของสุสานในปัจจุบันไม่มีการบูรณะ ประวัติของโต๊ะยาวอไม่มีการบันทึกไว้เป็นหลักฐาน ผู้อาวุโสในชุชมชนได้รับการบอกเล่าต่อๆ กันมาเพียงว่า สุสานแห่งนี้คือ กูโบร์วายังมลายู "Kubur Wayang Melayu" หรือสุสานนายหนังตะลุง..

 

อ่านต่อ

tag สุสานพระยายะหริ่ง
สุสานพระยายะหริ่ง

สุสานพระยายะหริ่ง ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 บ้านกรือเซะ ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ห่างจากมัสยิดกรือเซะไปทางทิศใต้ประมาณ 200 เมตร สุสานพระยายะหริ่ง เป็นที่ฝังศพของเจ้าเมืองยะหริ่ง คือ นิยูโซฟ หรือ โตะกียูโซฟ และเจ้าเมืองยะหริ่งอีก 2 ท่าน คือ นิเมาะ (บุตรของนิยูโซฟ) หรือพระยาพิบูลเสนานุกิจพิชิตเชษฐภักดี และนิโวะ (บุตรของนิเมาะ) หรือ พระยาพิพิธเสนามาตยาธิบดีศรีสุรสงคราม พระยายะหริ่งคนแรก คือ นิยูโซฟ เป็นชาวกรือเซะโดยกำเนิด และเป็นเชื้อสายของพระยาเมืองปัตตานี มีประวัติเล่าต่อกันมาว่า เมื่อก..

 

อ่านต่อ

tag บ่อน้ำฮังตูเวาะห์(แม่ทัพมะละกา)
บ่อน้ำฮังตูเวาะห์(แม่ทัพมะละกา)

ประวัติความเป็นมาตั้งอยู่ตำบลอตันหยงลูโล๊ะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ที่ตั้งของบอน้ำอยู่ห่างจากมัสยิดกรือเซะไปทางตะวันนออกเฉียงใต้ เป็นระยะทางประมาณ 100 เมตร ริมทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 42 ปัตตานี-นราธิวาส ประวัติของบ่อน้ำแห่งนี้เกี่ยวข้องกับแม่ทัพมะละกา ชื่อ ฮังตูวะฮ์ (Hang Tuah) ซึ่งเดินทางมาเยือนปัตตานีเพื่อสร้างมิตรภาพ และความสัมพันธ์ที่ดีกับปัตตานี ด้วยเหตุที่เมืองทั้งสองในเวลานั้นเป็นเมืองท่าที่มีชื่อเสียงของอาคเนย์ โดยเฉพาะปัตตานีนั้นได้รับความนิยมจากพ่อค้าต่างประเทศมากขึ้นเรื่อยๆ นอกจากนั้น..

 

อ่านต่อ

หน้า : 1

 

 

   
หน้าหลัก | ข้อมูล 5 จังหวัดชายแดนใต้ | เส้นทางท่องเที่ยวอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (IMT-GT) | เส้นทางท่องเที่ยว 5 จังหวัดชายแดนใต้ | รายงานสรุปแต่ละจังหวัด
 
ผู้รับผิดชอบแผนงานวิจัย
รองศาสตราจารย์ ดร.ศรัณยา บุนนาค คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
181 ถนนเจริญประดิษฐ์ หมู่ที่ 6 ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 94000
มือถือ 081-6980383 โทรศัพท์ +66-73-313-929 Fax+ 66-73-312-232
E-mail Address : saranya.b@psu.ac.th; bsaranya70@hotmail.com
---------------------
Developed and Designed by ME-FI dot com