ข้อมูล 5 จังหวัดชายแดนใต้ อินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (IMT-GT) ประเภทแหล่งท่องเที่ยว
ข้อมูล ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
ข้อมูลทั่วไป
สถานที่ท่องเที่ยว
ประเภทธรรมชาติ
ประเภทประวัติศาสตร์ และศาสนา
ประเภทศิลปะ วัฒนธรรม และประเพณี
การท่องเที่ยวโดยชุมชน
การท่องเที่ยวเชิงเกษตร
เส้นทางท่องเที่ยวโดยทัวร์อื่นๆ
รายชื่อและที่ตั้งมัสยิด
รายชื่อมัสยิด
ผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจ
อาหารและเครื่องดื่ม
ศิลปะหัตถกรรม
การคมนาคม
การเดินทางเข้าสู่ตำบล
 

 

 

 

 

สถานที่ท่องเที่ยว ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
tag สุสานชาวจีน(ในทะเล)
สุสานชาวจีน(ในทะเล)

สุสานชาวจีนในทะเล ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ที่ตั้งของสุสานเดิมตั้งอยู่ที่บริเวณปลายแหลมซึ่งเป็นสันทรายลงไปในทะเล มีชื่อว่า "ตันหยงลุโละ" ซึ่งหมายถึงแหลมที่ประกอบด้วยเม็ดทรายปนละเอียด บางท่านให้ความหมายว่า หมายถึงแหลมที่เป็นของมีค่า แหลมดังกล่าวมีความยาวต่อเนื่องมาจากบ้านบานา ซึ่งเป็นชุมชนขนาดใหญ่ในสมัยนั้น บานามาจากภาษาเปอร์เชีย คือ บันดาร์ แปลว่าท่าเรือหรือเมืองท่า ราว 400 ปีที่ผ่านมา ชาวจีนกลุ่มหนึ่งเข้ามาอาศัยตั้งบ้านเรือนบริเวณแหลมดังกล่าวนี้ ชาวจีนส่วนหนึ..

 

อ่านต่อ

tag บ่อจีน (กรือเซะ)

บ่อจีน หรือบ่อน้ำของชาวจีน ตั้งอยู่บริเวณที่เคยเป็นหมู่บ้านชาวจีนในอดีต ปัจจุบันอยู่ในหมู่ที่ 1 ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี เมื่อชาวจีนแยกย้ายออกไปจึงยังคงเหลือเฉพาะบ่อน้ำ ซึ่งเป็นของชุมชน ชาวบ้านเรียกบ่อดังกล่าวว่า บ่อจีน และเรียกหมู่บ้านดังกล่าวว่า กัมปงจินอ หรือหมู่บ้านชาวจีน ชาวจีนกับชาวตันหยงลุโละ มีความสัมพันะ์มายาวนานกว่า 400 ปี ชาวตันหยงลุโละหลายครัวเรือนในปัจจุบันมีบรรพบุรรุษเป็นชาวจีน โดยชาวจีนส่วนหนึ่งได้แต่งงานกับชาวพื้นเมือง บางคนเข้ารับอิสลาม ขณะที่บางคนก็ยังคงยึดถือ..

 

อ่านต่อ

tag สุสานโต๊ะยาวอ

สุสานโต๊ะยาวอ เป็นสุสานของชาวชวาที่พำนักอาศัยอยู่ในเมืองปัตตานีในช่วงต้นสมัยการเข้ารับอิสลามของชาวปัตตานี ที่ตั้งของสุสานอยู่ห่างจากมัสยิดกรือเซะไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ 500 เมตร จุดเด่นของสุสานแห่งนี้ คือ ความงดงามของหินเหนือหลุมฝังศพแบบอสเจะห์ ที่มีการสลักลวดลายลงบนหินทรายสีขาว สภาพของสุสานในปัจจุบันไม่มีการบูรณะ ประวัติของโต๊ะยาวอไม่มีการบันทึกไว้เป็นหลักฐาน ผู้อาวุโสในชุชมชนได้รับการบอกเล่าต่อๆ กันมาเพียงว่า สุสานแห่งนี้คือ กูโบร์วายังมลายู "Kubur Wayang Melayu" หรือสุสานนายหนังตะลุง..

 

อ่านต่อ

tag สุสานพระยายะหริ่ง
สุสานพระยายะหริ่ง

สุสานพระยายะหริ่ง ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 บ้านกรือเซะ ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ห่างจากมัสยิดกรือเซะไปทางทิศใต้ประมาณ 200 เมตร สุสานพระยายะหริ่ง เป็นที่ฝังศพของเจ้าเมืองยะหริ่ง คือ นิยูโซฟ หรือ โตะกียูโซฟ และเจ้าเมืองยะหริ่งอีก 2 ท่าน คือ นิเมาะ (บุตรของนิยูโซฟ) หรือพระยาพิบูลเสนานุกิจพิชิตเชษฐภักดี และนิโวะ (บุตรของนิเมาะ) หรือ พระยาพิพิธเสนามาตยาธิบดีศรีสุรสงคราม พระยายะหริ่งคนแรก คือ นิยูโซฟ เป็นชาวกรือเซะโดยกำเนิด และเป็นเชื้อสายของพระยาเมืองปัตตานี มีประวัติเล่าต่อกันมาว่า เมื่อก..

 

อ่านต่อ

tag บ่อฮังตูวะฮ์

บ่อฮังตูวะฮ์ ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 บ้านกรือเซะ ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ที่ตั้งของบอน้ำอยู่ห่างจากมัสยิดกรือเซะไปทางตะวันนออกเฉียงใต้ เป็นระยะทางประมาณ 100 เมตร ริมทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 42 ปัตตานี-นราธิวาส ประวัติของบ่อน้ำแห่งนี้เกี่ยวข้องกับแม่ทัพมะละกา ชื่อ ฮังตูวะฮ์ (Hang Tuah) ซึ่งเดินทางมาเยือนปัตตานีเพื่อสร้างมิตรภาพ และความสัมพันธ์ที่ดีกับปัตตานี ด้วยเหตุที่เมืองทั้งสองในเวลานั้นเป็นเมืองท่าที่มีชื่อเสียงของอาคเนย์ โดยเฉพาะปัตตานีนั้นได้รับความนิยมจากพ่อค้าต่างประเทศมากขึ้นเ..

 

อ่านต่อ

tag ย่านเมืองเก่าปัตตานี
ย่านเมืองเก่าปัตตานี

ปัตตานีนับเป็นเมืองท่าสำคัญในอดีต เป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปของพวกพ่อค้าชาวตะวันตก ชาวโปรตุเกสและชาวฮอลันดา  ตั้งสถานีการค้าที่ปัตตานีก่อนที่จะติดต่อกับอยุธยา  เรือสินค้าจากจีนและญี่ปุ่นได้ขนถ่ายแลกเปลี่ยนรับสินค้าจากตะวันตกที่ปัตตานี ไปจำหน่ายต่อที่อยุธยาและที่อื่น ๆ  โปรตุเกสเป็นชาวตะวันตกชาติแรกที่เข้ามาติดต่อค้าขายกับปัตตานีในปี พ.ศ. 2059  และในสมัยต่อมาก็มีการติดต่อค้าขายกับพ่อค้าวานิชชาวอังกฤษ ทำให้ปัตตานีมีความเจริญรุ่งเรือง  ส่งผลให้มีผู้คนมาปลูกบ้านเรือนอยู่กันอย..

 

อ่านต่อ

tag บ่อน้ำฮังตูเวาะห์(แม่ทัพมะละกา)
บ่อน้ำฮังตูเวาะห์(แม่ทัพมะละกา)

ประวัติความเป็นมาตั้งอยู่ตำบลอตันหยงลูโล๊ะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ที่ตั้งของบอน้ำอยู่ห่างจากมัสยิดกรือเซะไปทางตะวันนออกเฉียงใต้ เป็นระยะทางประมาณ 100 เมตร ริมทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 42 ปัตตานี-นราธิวาส ประวัติของบ่อน้ำแห่งนี้เกี่ยวข้องกับแม่ทัพมะละกา ชื่อ ฮังตูวะฮ์ (Hang Tuah) ซึ่งเดินทางมาเยือนปัตตานีเพื่อสร้างมิตรภาพ และความสัมพันธ์ที่ดีกับปัตตานี ด้วยเหตุที่เมืองทั้งสองในเวลานั้นเป็นเมืองท่าที่มีชื่อเสียงของอาคเนย์ โดยเฉพาะปัตตานีนั้นได้รับความนิยมจากพ่อค้าต่างประเทศมากขึ้นเรื่อยๆ นอกจากนั้น..

 

อ่านต่อ

หน้า : 1 2

 

 

   
หน้าหลัก | ข้อมูล 5 จังหวัดชายแดนใต้ | เส้นทางท่องเที่ยวอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (IMT-GT) | เส้นทางท่องเที่ยว 5 จังหวัดชายแดนใต้ | รายงานสรุปแต่ละจังหวัด
 
ผู้รับผิดชอบแผนงานวิจัย
รองศาสตราจารย์ ดร.ศรัณยา บุนนาค คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
181 ถนนเจริญประดิษฐ์ หมู่ที่ 6 ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 94000
มือถือ 081-6980383 โทรศัพท์ +66-73-313-929 Fax+ 66-73-312-232
E-mail Address : saranya.b@psu.ac.th; bsaranya70@hotmail.com
---------------------
Developed and Designed by ME-FI dot com