จังหวัด
อำเภอ
ตำบล
หมวด คีย์เวิร์ด
ข้อมูล 5 จังหวัดชายแดนใต้
จังหวัดสงขลา
จังหวัดปัตตานี
จังหวัดสตูล
จังหวัดยะลา
จังหวัดนราธิวาส
เส้นทางท่องเที่ยวอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-
ไทย (IMT-GT) (คลิกชมทั้งหมด)
เส้นทางท่องเที่ยวสัมผัสเมืองเก..
หาดใหญ่–เมดาน–ปาราปัท–เบอร์รัส..
ไทย(สงขลา) – มาเลเซีย(ปีนัง) –..
ทำบุญไหว้พระ 9 วัดในรัฐกลันตัน
ทัวร์มาเลเซีย เก็นติ้ง 3 วัน 2..
เที่ยวบาหลี สวยที่สุด 4 วัน 3 คืน
เที่ยวเมดาน อินโดนีเซีย 5 วัน ..
ทัวร์เมดาน จากหาดใหญ่ 4 วัน 3 คืน
เกาะสวรรค์ บาหลี อินโดนีเซีย 4..
ทัวร์ล่องเรือสตาร์ครูซ 2 วัน 1 คืน
เส้นทางท่องเที่ยว 5 จังหวัดชายแดนใต้
(คลิกชมทั้งหมด)
โปรแกรมที่ 1 วันเดียว....เที่ยวปัตตานี..
เส้นทาง สงขลา - ปัตตานี - สงขลา “2 วัน..
โปรแกรมที่ 4 วันเดียว...เที่ยวนรา..
โปรแกรมที่ 3 วันเดียว...เที่ยวนรา..
เส้นทาง หาดใหญ่-ด่านประกอบ- มาเลเซีย -..
เส้นทาง สงขลา – สตูล “สัมผัสมหัศจรรย์..
เส้นทางที่ 9 ซิงกอร่า – ลังกาสุกะ – รั..
เส้นทางที่ 7วังประจัน เมืองชายแดนการค้..
เส้นทางที่ 8 หาดใหญ่ – สงขลา – ปีนัง –..
เส้นทางที่ 10ผจญภัยในถ้ำน้ำ ชมความงาม ..
ค้นหาสถานที่ต่างๆ ตามหมวด
เส้นทางท่องเที่ยวโดยนักวิจัย
สถานที่ท่องเที่ยว
เส้นทางท่องเที่ยวโดยทัวร์อื่นๆ
รายชื่อและที่ตั้งมัสยิด
โรงแรม / ที่พัก
ร้านอาหาร
ผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจ
ธุรกิจขนาดกลาง/ ขนาดย่อม
กลุ่มอาชีพ / สินค้า
สิ่งอำนวยความสะดวก
การคมนาคม

 

สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
สมาคมไทยธุรกิจการท่องเที่ยว (ATTA)
สมาคมไทยท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และผจญภัย (TEATA)
สมาคมไทยบริการท่องเที่ยว
สมาคมผู้ประกอบการนำเที่ยวแห่งประเทศไทย
สมาคมธุรกิจท่องเที่ยวภายในประเทศ
สมาคมมัคคุเทศก์อาชีพแห่งประเทศไทย
สมาคมโรงแรมไทย
สำนักงานพัฒนาการท่องเที่ยว
ฐานข้อมูลการท่องเที่ยวเชิงการตลาด
ท่องเที่ยววิถีไทย
ลองสเตย์
โฮมสเตย์
เทศบาลเมืองปัตตานี
ลิงค์ทั้งหมด

 

อุทยานแห่งชาติเอ็นเดา – รอมปืน (Endau-Rompin)
 
อุทยานแห่งชาติเอ็นเดา – รอมปืน (Endau-Rompin)
 
 

ความหลากหลายทางธรรมชาติที่หาดูได้ที่  อุทยานแห่งนี้ตั้งอยู่ทางชายฝั่งตะวันออกของคาบสมุทร ระหว่าง Johor และ Pahang ล้อมรอบสันกั้นน้ำของแม่น้ำ Endua และแม่น้ำ Rompin ใน Pahang และครอบคลุมพื้นที่ป่า 488 ตารางกิโลเมตร เป็นอุทยานที่สวยงาม และยังบริสุทธิ์ และเป็นหนึ่งในพื้นที่ป่าเต็งรังที่ยังหลงเหลืออยู่ในประเทศ และเป็นที่หลบภัยของแรดสุมาตราในประเทศมาเลเซีย และเป็นสถานที่ที่มีความหลากหลายทางธรรมชาต ทั้งพืชและสัตว์ ภูเขาและเนินในบริเวณนี้พบว่ามีอายุยาวนานย้อนกลับไปได้ถึง 250 ล้านปีทีเดียว

สถานที่ท่องเที่ยว
สำหรับคนรักธรรมชาติสถานที่แห่งนี้น่าพึงพอใจเป็นอย่างยิ่ง นอกจากนั้น ยังมีกิจกรรมมากมายไว้สำหรับให้นักท่องเที่ยวได้เพลิดเพลิน ไม่ว่าจะเป็นการศึกษาพันธุ์ไม้ ศึกษาธรรมชาติ ดูนก ถ่ายภาพ และเดินป่า มีหลากหลายกิจสำหรับนักศึกษาธรรมชาติแล้ว ที่นี่เต็มไปด้วยพืชพันธุ์ธรรมชาติให้ได้เพลิดเพลินมากมาย รวมทั้งปาล์มใบพัดหลากชนิด ซึ่งเป็นพืชพื้นเมืองของมาเลเซีย ไผ่ เห็ด และกล้วยไม้ป่ามากมากยยังพบได้ที่นี่ด้วย

สัตว์ป่า ที่อาศัยอยู่มี เสือ ช้าง แรดสุมาตรา หมีขอ, บินตุรง (Arctictis binturong) และชะนีมือขาว, ชะนีธรรมดา ซึ่งเป็นลิงประเภทเดียวในพื้นที่นี้ ป่านี้ยังเป็นที่อยู่อาศัยของนกแซงแซวหางบ่วงใหญ ่หรือนกแซงแซวหางปลา ที่ร้องเสียงแจ๋วอีกเช่นกัน รมทั้ง นกเงือก และนกหว้า และยังเป็นที่อยู่อาศัยของพวกลิง Orang Asli พันธุ์ Jakun ก็พบได้ที่ Kampong Peta ไม่ไกลกับทางเข้าอุทยาน

การเดินทาง
สามารถเดินทางไปยังอุทยานแห่งนี้โดยเริ่มต้นจาก Kahang ไปตามถนน Kluang – Mersing ผู้เดินทางจะต้องนั่งรถไปจากกัวลาลัมเปอร์ หรือ Johor Bahruby โดยใช้ทางด่วน North – South เมื่อถึง Kluang ให้เลี้ยวไปทางตัวเมือง Kahang จากตรงนั้นสามารถโดยสารรถโฟว์วีต่อไปอีกประมาณ 56 กิโลเมตรไปถึง Kampong Peta ซึ่งเป็นเหมือนศูนย์กลางและทางเข้าสู่อุทยานแห่งชาติ

นอกจากนั้นการเดินทางสู่อุทยานแห่งชาตินี้ ยังทำได้โดยทางเรือผ่านไปทางแม่น้ำ Endau ใช้เวลาเดินทางประมาณ 3 ชั่วโมง จาก Felda Nitar II มีอุปกรณ์อำนวยความสะดวกแก่ผู้ต้องการตั้งค่ายประมาณ 250-300 คนโดยกระจายจุดบริการตามที่นั้นๆ Kaula Jasin, Batu Hampar, Upeh Guling Kuala Marong

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
ศูนย์ประสานงานอุทยานแห่งชาติยะโฮร์
JKR 475, Bukit Timbalan, Johor, Malaysia
โทร 07-223 7471
แฟ็กซ์ 07-223 7472
อีเมล์ ptnj@pojaring.my

ใบอนุญาติเข้าประเทศสามารถรับได้ที่
สำนักงานสภาความมั่นคงของรัฐ
ชั้น 1 Bangunan Sultan Ibrahim
โทร 07-223 1033

--------------------
ขอบคุณข้อมูลและภาพประกอบจากเว็บไซต์  http://www.sawasdeemalaysia.com

Back

 

 

   
หน้าหลัก | ข้อมูล 5 จังหวัดชายแดนใต้ | เส้นทางท่องเที่ยวอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (IMT-GT) | เส้นทางท่องเที่ยว 5 จังหวัดชายแดนใต้ | รายงานสรุปแต่ละจังหวัด
 
ผู้รับผิดชอบแผนงานวิจัย
รองศาสตราจารย์ ดร.ศรัณยา บุนนาค คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
181 ถนนเจริญประดิษฐ์ หมู่ที่ 6 ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 94000
มือถือ 081-6980383 โทรศัพท์ +66-73-313-929 Fax+ 66-73-312-232
E-mail Address : saranya.b@psu.ac.th; bsaranya70@hotmail.com
---------------------
Developed and Designed by ME-FI dot com