จังหวัด
อำเภอ
ตำบล
หมวด คีย์เวิร์ด
ข้อมูล 5 จังหวัดชายแดนใต้
จังหวัดสงขลา
จังหวัดปัตตานี
จังหวัดสตูล
จังหวัดยะลา
จังหวัดนราธิวาส
เส้นทางท่องเที่ยวอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-
ไทย (IMT-GT) (คลิกชมทั้งหมด)
เส้นทางท่องเที่ยวสัมผัสเมืองเก..
หาดใหญ่–เมดาน–ปาราปัท–เบอร์รัส..
ไทย(สงขลา) – มาเลเซีย(ปีนัง) –..
ทำบุญไหว้พระ 9 วัดในรัฐกลันตัน
ทัวร์มาเลเซีย เก็นติ้ง 3 วัน 2..
เที่ยวบาหลี สวยที่สุด 4 วัน 3 คืน
เที่ยวเมดาน อินโดนีเซีย 5 วัน ..
ทัวร์เมดาน จากหาดใหญ่ 4 วัน 3 คืน
เกาะสวรรค์ บาหลี อินโดนีเซีย 4..
ทัวร์ล่องเรือสตาร์ครูซ 2 วัน 1 คืน
เส้นทางท่องเที่ยว 5 จังหวัดชายแดนใต้
(คลิกชมทั้งหมด)
โปรแกรมที่ 1 วันเดียว....เที่ยวปัตตานี..
เส้นทาง สงขลา - ปัตตานี - สงขลา “2 วัน..
โปรแกรมที่ 4 วันเดียว...เที่ยวนรา..
โปรแกรมที่ 3 วันเดียว...เที่ยวนรา..
เส้นทาง หาดใหญ่-ด่านประกอบ- มาเลเซีย -..
เส้นทาง สงขลา – สตูล “สัมผัสมหัศจรรย์..
เส้นทางที่ 9 ซิงกอร่า – ลังกาสุกะ – รั..
เส้นทางที่ 7วังประจัน เมืองชายแดนการค้..
เส้นทางที่ 8 หาดใหญ่ – สงขลา – ปีนัง –..
เส้นทางที่ 10ผจญภัยในถ้ำน้ำ ชมความงาม ..
ค้นหาสถานที่ต่างๆ ตามหมวด
เส้นทางท่องเที่ยวโดยนักวิจัย
สถานที่ท่องเที่ยว
เส้นทางท่องเที่ยวโดยทัวร์อื่นๆ
รายชื่อและที่ตั้งมัสยิด
โรงแรม / ที่พัก
ร้านอาหาร
ผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจ
ธุรกิจขนาดกลาง/ ขนาดย่อม
กลุ่มอาชีพ / สินค้า
สิ่งอำนวยความสะดวก
การคมนาคม

 

สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
สมาคมไทยธุรกิจการท่องเที่ยว (ATTA)
สมาคมไทยท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และผจญภัย (TEATA)
สมาคมไทยบริการท่องเที่ยว
สมาคมผู้ประกอบการนำเที่ยวแห่งประเทศไทย
สมาคมธุรกิจท่องเที่ยวภายในประเทศ
สมาคมมัคคุเทศก์อาชีพแห่งประเทศไทย
สมาคมโรงแรมไทย
สำนักงานพัฒนาการท่องเที่ยว
ฐานข้อมูลการท่องเที่ยวเชิงการตลาด
ท่องเที่ยววิถีไทย
ลองสเตย์
โฮมสเตย์
เทศบาลเมืองปัตตานี
ลิงค์ทั้งหมด

 

สถานที่ท่องเที่ยว   ทั้งหมด
tag  จังหวัดสงขลา     tag  จังหวัดปัตตานี     tag  จังหวัดสตูล     tag  จังหวัดยะลา     tag  จังหวัดนราธิวาส    
tag  ศาลเจ้าเล่าเอี๊ยะก๋ง
ศาลเจ้าเล่าเอี๊ยะก๋ง

ชมความสวยงามและสักการะบูชาศาลเจ้าเล่าเอี๊ยะก๋ง ที่มีอายุเกิน 100 ปี ตั้งอยู่บริเวณถนนเทิดธรรม อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี เดิมศาลเจ้านี้มีชื่อว่า "ศาลเจ้าเฮงเก้ง" ตามภาษาจีนสำเนียงเดิมของชาวฮกเกี้ยน ถือว่าเป็นศาลเจ้าเก่าแก่ประจำอำเภอสายบุนรี มีเทพเจ้าฮู้อ่องเอี๋ย หรือ ตี่ฮู้เซี่ยนโส่ย เป็นที่เคารพนับถือของชาวสายบุรี และนักท่องเที่ยวจากจังหวัดใกล้เคียงรวมถึงชาวมาเลเซียเชื้อสายจีน------------------------------------------------ขอขอบคุณรูปภาพจาก :&n..

 

...อ่านต่อ...

 

tag  สุสานโต๊ะดาตู
สุสานโต๊ะดาตู

สุสานโต๊ะดาตู ตั้งอยู่หมู่ที่ 7 ตำบลปุยุด อำเภอเมือง จังหวีดปัตตานี โต๊ะดาตูหรือตูปุยุด เป็นผู้รักษาการเมืองปัตตานี ระหว่าง พ.ศ.2272-2319 เนื่องจากเจ้าเมืองปัตตานีคนก่อน คือ อาลงยุนุส ถูกปลงพระชนม์ในปี พ.ศ.2272 โดยระตู ปะกาลัน ผู้เป็นอนุชาได้ก่อกบกขึ้นในเมืองปัตตานี ในช่วงเวลาดังกล่าวเมืองปัตตานี  มีความขัดแย้งภายในอย่างรุนแรง ขุนนางและผู้กุมอำนาจขาดความสามัคคี ไม่มีใครยอมขึ้นกับใครยิ่งเมื่ออาลงยุนุสแก่อสัญกรรม เมืองปัตตานีมีแต่ความสับสนอลห..

 

...อ่านต่อ...

 

tag  กูโบว์ปังลิมอ

กูโบว์ปังลิมอ หรือสุสานนักรบปัตตานี จำนวน 5 คน ตั้งอยู่ที่บ้านตันหยงลิมอ หมู่ที่ 3 ตำบลคลองมานิง อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ห่างจากมัสยิดกรือเซะไปทางทิศใต้ประมาณ 3 กิโลเมตร เป็นสุสานที่ประดับด้วยหินเหนือหลุมฝังศพ สลักลวดลายสวยงามเรียงกันอยู่ในบริเวณเดียวกัน โดยไม่มีการฝังศพผู้อื่นในบริเวณดังกล่าวมาถึงปัจจุบัน สุสานดังกล่าวมีอายุกว่า 200 ปี ผู้เสียชีวิตมีหน้าที่เป็นแม่ทัพต่อสู้กับกองทัพสยามในสงครมครั้งใหญ่ปี 2329 ครั้งนั้นปัตตานีเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ ท..

 

...อ่านต่อ...

 

tag  บ่อฮังตูวะฮ์

บ่อฮังตูวะฮ์ ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 บ้านกรือเซะ ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ที่ตั้งของบอน้ำอยู่ห่างจากมัสยิดกรือเซะไปทางตะวันนออกเฉียงใต้ เป็นระยะทางประมาณ 100 เมตร ริมทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 42 ปัตตานี-นราธิวาส ประวัติของบ่อน้ำแห่งนี้เกี่ยวข้องกับแม่ทัพมะละกา ชื่อ ฮังตูวะฮ์ (Hang Tuah) ซึ่งเดินทางมาเยือนปัตตานีเพื่อสร้างมิตรภาพ และความสัมพันธ์ที่ดีกับปัตตานี ด้วยเหตุที่เมืองทั้งสองในเวลานั้นเป็นเมืองท่าที่มีชื่อเสียงของอาคเนย์ โดยเฉพาะปั..

 

...อ่านต่อ...

 

tag  สุสานพระยายะหริ่ง
สุสานพระยายะหริ่ง

สุสานพระยายะหริ่ง ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 บ้านกรือเซะ ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ห่างจากมัสยิดกรือเซะไปทางทิศใต้ประมาณ 200 เมตร สุสานพระยายะหริ่ง เป็นที่ฝังศพของเจ้าเมืองยะหริ่ง คือ นิยูโซฟ หรือ โตะกียูโซฟ และเจ้าเมืองยะหริ่งอีก 2 ท่าน คือ นิเมาะ (บุตรของนิยูโซฟ) หรือพระยาพิบูลเสนานุกิจพิชิตเชษฐภักดี และนิโวะ (บุตรของนิเมาะ) หรือ พระยาพิพิธเสนามาตยาธิบดีศรีสุรสงคราม พระยายะหริ่งคนแรก คือ นิยูโซฟ เป็นชาวกรือเซะโดยกำเนิด และเป็นเชื้อสายขอ..

 

...อ่านต่อ...

 

tag  บ่อน้ำและหินโบราณบ้านบานา

บ่อน้ำและหินโบราณบ้านบานา ตั้งอยู่ที่บ้านบานา ตำบลบานา ห่างจากมัสยิดกรือเซะไปทางทิศตะวันตกประมาณ 102 กิโลเมตร บ่อน้ำแห่งนี้มีอายุเก่าแก่สร้างมาตั้งแต่บานาเริ่มที่เป็นที่จอดเรือของพ่อค้าต่างชาติ และเป็นแหล่งน้ำจืดสำหรับอุปโภคบริโภค และใช้มาจนถึงสมัยที่โรงเรียนปอเนาะเป็นที่นิยมแพร่หลายในระยะนั้น เมืองต่างๆแถบนี้ เช่น ตรังกานู กลันตัน ฯลฯ ส่งบุตรหลานมาเรียน บ่อน้ำแห่งนี้ได้ใช้เป็นที่อาบน้ำของนักเรียน จนไม่นานมานี้ได้เลิกใช้ไป เนื่องจากชุมชนขยายตัวม..

 

...อ่านต่อ...

 

tag  สุสานโต๊ะยาวอ

สุสานโต๊ะยาวอ เป็นสุสานของชาวชวาที่พำนักอาศัยอยู่ในเมืองปัตตานีในช่วงต้นสมัยการเข้ารับอิสลามของชาวปัตตานี ที่ตั้งของสุสานอยู่ห่างจากมัสยิดกรือเซะไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ 500 เมตร จุดเด่นของสุสานแห่งนี้ คือ ความงดงามของหินเหนือหลุมฝังศพแบบอสเจะห์ ที่มีการสลักลวดลายลงบนหินทรายสีขาว สภาพของสุสานในปัจจุบันไม่มีการบูรณะ ประวัติของโต๊ะยาวอไม่มีการบันทึกไว้เป็นหลักฐาน ผู้อาวุโสในชุชมชนได้รับการบอกเล่าต่อๆ กันมาเพียงว่า สุสานแห่งนี้คือ กูโบร์วายั..

 

...อ่านต่อ...

 

tag  หมู่บ้านชาวจีนที่กาแลบือซาร์
หมู่บ้านชาวจีนที่กาแลบือซาร์

หมู่บ้านชาวจีน ตั้งอยู่ใกล้กับกาแลบือซาร์ ตำบลกะมิยอ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ในปัจจุบัน ห่างจากมัสยิดกรีเซะไปทางตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 2.5 กิโลเมตร ที่ตั้งของหมู่บ้านชาวจีนดั้งเดิมมีขนาดใหญ่ชื่อว่า "กาแลจินอ" ซึ่งหมายถึงท่าเรือของชาวจีน หรือบ้านท่าจีนนั่นเอง หมู่บ้านชาวจีนที่นี่มีอายุเก่าแก่กว่าที่กรีเซะ บริเวณหมู่บ้านชาวจีนแห่งนี้เคยเป็นท่าเรือของลังกาสุกะมาก่อน ร่องรอยหลักฐานที่เหลืออยู่ ได้แก่ บ่อน้ำของชาวจีน ฐานเสาศาลที่พัก เนินดินที่เคย..

 

...อ่านต่อ...

 

tag  บ่อจีน (กรือเซะ)

บ่อจีน หรือบ่อน้ำของชาวจีน ตั้งอยู่บริเวณที่เคยเป็นหมู่บ้านชาวจีนในอดีต ปัจจุบันอยู่ในหมู่ที่ 1 ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี เมื่อชาวจีนแยกย้ายออกไปจึงยังคงเหลือเฉพาะบ่อน้ำ ซึ่งเป็นของชุมชน ชาวบ้านเรียกบ่อดังกล่าวว่า บ่อจีน และเรียกหมู่บ้านดังกล่าวว่า กัมปงจินอ หรือหมู่บ้านชาวจีน ชาวจีนกับชาวตันหยงลุโละ มีความสัมพันะ์มายาวนานกว่า 400 ปี ชาวตันหยงลุโละหลายครัวเรือนในปัจจุบันมีบรรพบุรรุษเป็นชาวจีน โดยชาวจีนส่วนหนึ่งได้แต่งงานกับชาวพื้..

 

...อ่านต่อ...

 

tag  สุสานชาวจีน(ในทะเล)
สุสานชาวจีน(ในทะเล)

สุสานชาวจีนในทะเล ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ที่ตั้งของสุสานเดิมตั้งอยู่ที่บริเวณปลายแหลมซึ่งเป็นสันทรายลงไปในทะเล มีชื่อว่า "ตันหยงลุโละ" ซึ่งหมายถึงแหลมที่ประกอบด้วยเม็ดทรายปนละเอียด บางท่านให้ความหมายว่า หมายถึงแหลมที่เป็นของมีค่า แหลมดังกล่าวมีความยาวต่อเนื่องมาจากบ้านบานา ซึ่งเป็นชุมชนขนาดใหญ่ในสมัยนั้น บานามาจากภาษาเปอร์เชีย คือ บันดาร์ แปลว่าท่าเรือหรือเมืองท่า ราว 400 ปีที่ผ่านมา ชาวจีนกลุ่มหนึ่งเข้ามาอาศ..

 

...อ่านต่อ...

 

 

หน้า : 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 102 103 104 105 106 107 108 109 110 111 112 113 114 115 116 117 118 119 120 121 122 123 124 125 126 127 128 129 130 131 132 133 134 135 136 137 138 139 140 141 142 143 144 145 146 147 148 149 150 151 152 153 154 155 156 157 158 159 160 161 162 163 164 165 166 167 168 169 170 171 172 173 174 175 176 177 178 179 180 181 182 183 184 185 186 187 188 189 190 191 192 193 194 195 196 197 198 199 200 201 202 203 204 205 206 207 208 209 210 211 212 213 214 215 216 217 218 219 220 221 222 223 224 225 226

   
หน้าหลัก | ข้อมูล 5 จังหวัดชายแดนใต้ | เส้นทางท่องเที่ยวอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (IMT-GT) | เส้นทางท่องเที่ยว 5 จังหวัดชายแดนใต้ | รายงานสรุปแต่ละจังหวัด
 
ผู้รับผิดชอบแผนงานวิจัย
รองศาสตราจารย์ ดร.ศรัณยา บุนนาค คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
181 ถนนเจริญประดิษฐ์ หมู่ที่ 6 ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 94000
มือถือ 081-6980383 โทรศัพท์ +66-73-313-929 Fax+ 66-73-312-232
E-mail Address : saranya.b@psu.ac.th; bsaranya70@hotmail.com
---------------------
Developed and Designed by ME-FI dot com